Custom_32
รายละเอียดของรายวิชา แบบ วช. 04
 
     
  1. รหัสและชื่อวิชา
   
364 716
วิทยาภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อปรสิต
IMMUNOLOGY OF PARASITIC INFECTIONS
2 (2-0-4)
  2. จำนวนหน่วยกิต
    2 หน่วยกิต(จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 2 ชม. ปฏิบัติการ 0 ชม. ศึกษาด้วยตัวเอง 4 ชม.)
  3. สังกัดวิชา
   
ภาควิชา/สาขาวิชา
คณะแพทยศาสตร์
  4. คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
   

บทบาทของการตอบสนองภูมิคุ้มกันระดับเซลล์และโมเลกุลต่อการติดเชื้อปรสิตกลไกพื้นฐาน หน้าที่ของเซลล์ปฎิบัติการและโมเลกุลในกระบวนการอักเสบ การซ่อมแซมและการตายของเซลล์ ภูมิคุ้มกันเยื่อเมือกและเนื้อเยื่อ อินมูโนพยาธิวิทยา วิธีการตรวจและการแปลผล

Roles of molecular and cellular immune responses against parasitic infection, basic mechanism, functions of the effector cells and molecules in infalmmation, repairing process, and apoptosis, mucosal and tissue immunology, immunopathology,and methods for determiniation and interpertation.

  5. เงื่อนไขของรายวิชา(Prerequisite)
    ไม่มี
  6. ประเภทวิชา
    เป็น
เป็น
  7. ภาคการศึกษาที่เปิดสอน และปีการศึกษาที่จะเริ่มเปิดสอน
    ไม่พบข้อมูล
  8. อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ที่ปรึกษา
   
ผศ.ดร. วิภาภรณ์ เรืองจิระชูพร
     
 
  หัวข้อ บรรยาย (จำนวน ชม.) ปฏิบัติ (จำนวน ชม.)
    1.พยาธิวิทยาภูมิคุ้มกันต่อการติดต่อเชื้อปรสิต: บทนำ คำจำกัดความ ความสำคัญและการนำมาใช้ 1 0
    2. ปฎิสัมพันธ์ระหว่างโฮสต์และปรสิตและกระบวนการภูมิคุ้มกัน 2 0
    3. โครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะ เซลล์และโมเลกุลที่เป็นองค์ประกอบของระบบภูมิคุ้มกัน 2 0
    4. พื้นฐานการทำงานของทีเซลล์ ( T call ) และบีเซลล์ ( B cell ) 2 0
    5. ภูมิคุ้มกันของเยื่อบุ (mucosa) และเนื้อเยื่อ (tissue) ต่อการติดเชื้อปรสิต 2 0
    6. สารสื่อ ( mediator) ต่างๆรวมทั้งอนุมูลอิสระและกระบวนการอักเสบจากการติดเชื้อปรสิต 2 0
    7. กระบวนการซ่อมแซม และการตายของเซลล์ในการติดเชื้อปรสิต 2 0
    8. พยาธิสรีรวิทยาของการติดเชื้อปรสิต(เฉียบพลัน เรื้อรัง และการติดเชื้อซ้ำ) 2 0
    - การติดเชื้อโปรโตซัว (Cerebral malaria, Leishmania, Toxoplasma, Trypanosome) 2 0
    - การติดเชื้อหนอนพยาธิ Schistosome, filarial, O.viverrini,or T .spiralis 2 0
    - การติดเชื้อปรสิตในภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน 2 0
 
รวม
21 0


 
กลุ่มภารกิจพัฒนาวิชาการ สำนักบริหารและพัฒนาวิชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร 043 203200 ภายใน 11940