Custom_32
รายละเอียดของรายวิชา แบบ วช. 04
 
     
  1. รหัสและชื่อวิชา
   
716 762
สุขภาพสัตว์และเศรษฐศาสตร์
Animal Health and Economics
2 (2-0-2)
  2. จำนวนหน่วยกิต
    2 หน่วยกิต(จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 2 ชม. ปฏิบัติการ 0 ชม. ศึกษาด้วยตัวเอง 2 ชม.)
  3. สังกัดวิชา
   
ภาควิชา/สาขาวิชา
คณะสัตวแพทยศาสตร์
  4. คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
   
กรอบงานทางด้านเศรษฐศาสตร์ของโรคในปศุสัตว์ การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในเศรษฐศาสตร์สุขภาพสัตว์ บ่งปริมาณค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจในระดับฟาร์ม การให้ค่าสุขภาพสัตว์และการตัดสินใจที่ใช้การคุมการผลิตสูงสุด และการควบคุมผลผลิต การกำหนดต้นทุนและกำไรของโปรแกรมป้องกันโรค  
Economics framework of livestock disease, mathematical modelling in animal health economics, quantifying financial losses at the farm level, optimizing animal health and production control decisions, and determining the costs and benefits of preventive programs.
  5. เงื่อนไขของรายวิชา(Prerequisite)
    มี 710 701
  6. ประเภทวิชา
    เป็นวิชาศึกษาทั่วไป
เป็นวิชาเฉพาะ
  7. ภาคการศึกษาที่เปิดสอน และปีการศึกษาที่จะเริ่มเปิดสอน
    ไม่พบข้อมูล
  8. อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ที่ปรึกษา
   
ผศ.ดร. ประพันธ์ศักดิ์ ฉวีราช
     
 
  หัวข้อ บรรยาย (จำนวน ชม.) ปฏิบัติ (จำนวน ชม.)
    1. ลักษณะงานทางด้านเศรษฐศาสตร์ของโรคในปศุสัตว์ 8 0
    - สมการทางเศรษฐศาสตร์พื้นฐาน 0 0
    - ปัจจัยหลักที่เป็นตัวกำหนดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ 0 0
    - การบริการทางสัตวแพทย์ที่เป็นปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์ 0 0
    - การตัดสินใจในการจัดการสุขภาพสัตว์ 0 0
    2. การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในเศรษฐศาสตร์สุขภาพสัตว์ 8 0
    - แนวคิดพื้นฐาน 0 0
    - แบบจำลองทางสถิติและระบาดวิทย 0 0
    - แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ 0 0
    - ชนิดและเทคนิคการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์รูปแบบต่างๆ 0 0
    3. การประมาณค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจในระดับฟาร์ม 6 0
    - แนวทางการทำงาน 0 0
    - การใช้ประโยชน์ในฟาร์มโคนม 0 0
    - การใช้ประโยชน์ในฟาร์มสุกร 0 0
    4. การตัดสินใจที่เหมาะสมสำหรับสุขภาพสัตว์และการควบคุมผลผลิต 4 0
    - ในระดับตัวสัตว์ 0 0
    - ในระดับฟาร์มและหน่วยงาน 0 0
    5. การกำหนดต้นทุนและกำไรของโปรแกรมป้องกันโรคระบาดวิทยาสำหรับการควบคุมโรคในสัตว์ 4 0
    - โปรแกรมการดูแลสุขภาพฝูง 0 0
    - การควบคุมโรคติดต่อที่รุนแรง เช่น โรคปากเท้าเปื่อย 0 0
 
รวม
30 0


 
กลุ่มภารกิจพัฒนาวิชาการ สำนักบริหารและพัฒนาวิชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร 043 203200 ภายใน 11940