2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title การประเมินการไม่ตอบกลับแบบสอบถามของโครงการวิจัยสุขภาพและชีวิตการทางาน ของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย 
Date of Distribution 1 March 2013 
Conference
     Title of the Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 27 เรื่อง "การวิจัยระดบบัณฑฺิตศึกษา: หนทางสู่การพัฒนาประเทศในบริบทประชาคมอาเซียน" 
     Organiser บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร 
     Conference Place อาคารเรียนรวมเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษาบรมราชินีนาถ(QS) มหาวิทยาลัยนเรศวร 
     Province/State พิษณุโลก 
     Conference Date 28 February 2013 
     To 1 March 2013 
Proceeding Paper
     Volume 0-HS009 
     Issue 27 
     Page 278-290 
     Editors/edition/publisher  
     Abstract การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อหาอัตราการไม่ตอบกลับแบบสอบถาม และความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคคลกับการไม่ตอบกลับแบบสอบถาม วัตถุประสงค์รอง คือเพื่อหาขนาดความแตกต่างระหว่างกลุ่มผู้ตอบกลับช้าและกลุ่มผู้ไม่ตอบกลับ เกี่ยว กับการกระจายของอายุและเพศ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิจากโครงการวิจัยสุขภาพและชีวิตการทางานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย นามาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับฐานข้อมูลประชากรพยาบาลวิชาชีพ ปี 2551 ของสภาการพยาบาล โดยวิเคราะห์อัตราการไม่ตอบกลับ พร้อมกับเปรียบเทียบลักษณะบุคคลระหว่างกลุ่มที่ ไม่ตอบกลับแบบสอบถาม และกลุ่มผู้ตอบกลับแบบสอบถามช้า จากผลการศึกษาพบว่า มีผู้ไม่ตอบกลับ 13,246 คน คิดเป็นอัตราการไม่ตอบกลับร้อยละ 41.4 (ช่วงเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 40.8 ถึง 42.0) โดยมีอัตราสูงสุดในกลุ่มผู้ที่มีอายุ 25 ปีลงมา คิดเป็นร้อยละ 66.1 เพศไม่มีความสัมพันธ์กับการไม่ตอบกลับแบบสอบถาม พบว่าอายุยิ่งน้อยยิ่งมีโอกาสไม่ตอบกลับสูง โดยกลุ่มอายุ 25 ปีลงมามีโอกาสไม่ตอบกลับ เป็น 2.4 เท่าของกลุ่มอายุ 40 ปีขึ้นไป ผลจาก การเปรียบเทียบการกระจายสัดส่วนทางลักษณะบุคคล ระหว่างกลุ่มผู้ไม่ตอบกลับแบบสอบถามกับกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามกลับช้าพบว่า การกระจายของค่าสัดส่วนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ในทุกลักษณะบุคคล โดยมีลาดับ ค่าสัดส่วนเหมือนกัน และมีค่าอัตราส่วนของสัดส่วนเข้าใกล้ 1 ยกเว้นอายุ กล่าวคือ กลุ่มตอบกลับช้าที่มีอายุ 25 ปีลงมา มีสัดส่วนน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ตอบกลับเป็น 0.1 เท่าของกลุ่มผู้ที่ไม่ตอบกลับ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การไม่ตอบกลับแบบสอบถาม ในการสารวจขอมูลพื้นฐานของโครการสุขภาพและชีวิตการทางานของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย มีอัตราสูงพอๆ กับการศึกษาของต่างประเทศ การวิเคราะห์ควรพิจารณาถ่วงน้าหนักเพิ่มในกลุ่มอายุ 25 ปีลงมา 
Author
515110012-1 Mr. UTIS CHAICHAYA [Main Author]
Public Health Master's Degree

Peer Review Status ไม่มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Oral 
Part of thesis true 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 0