2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ พิพิธภัณฑ์ ไกสอน พมวิหาน กับ การสร้างความทรงจำทางการเมืองของ สปป. ลาว 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 8 พฤศจิกายน 2555 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 8 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น  
     ช่วงวันที่จัดประชุม 8 พฤศจิกายน 2555 
     ถึง 9 พฤศจิกายน 2555 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2555 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ บทคัดย่อ บทความชิ้นนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะนำเสนอการสร้างความทรงจำของพรรคฯและรัฐ ผ่านพิพิธภัณฑ์ ไกสอน พมวิหาน โดยศึกษาการสร้างความทรงจำทางการเมืองจากเรื่องราวและความหมายจากการจัดแสดงสิ่งของ และเอกสารประกอบการจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ไกสอน พมวิหาน ส่วนแนวคิดที่เป็นแนวทางในการศึกษาคือ แนวคิดการสร้างชาติและแนวคิดความทรงจำของทางการ ผลการศึกษาพบว่า พรรคประชาชนปฏิวัติลาวและรัฐบาล ได้เข้ามาจัดการความทรงจำในพื้นที่การจัดแสดงและสร้างสถานะให้ท่านไกสอน พมวิหาน เป็นวีรบุรุษของชาติลาว เพื่อรักษาเอกภาพภายในรัฐ สปป.ลาว ABSTRACT The main theme of this article is the constructions of political remembrance in Lao PDR state through Kaysone Phomvihane museum, by study on the constructions of political remembrance from meaning of story item and document to describe in Kaysone Phomvihane museum. Employing the concept of The Nation-Building and The Official Memory Approach as a framework of analysis. The study found political remembrance in Lao PDR state that under new regime (People’s Revolutionary Party and Government Lao PDR), by reproduced a remember of Lao hero through Kaysone Phomvihane president to a unified state. With caption on display and display of item in Kaysone Phomvihane museum for emphasize that the life and mission of the great revolutionary leader. 
ผู้เขียน
535080136-0 นาย กิตติศักดิ์ ชิณแสง [ผู้เขียนหลัก]
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) ไม่มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Abstract 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 3