2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ Effect of Manual Therapy and Stretching Exercise on using Pain Scale (VAS) in Dental Students with Neck Pain: a Single Blinded Randomized Control Trial (RCT) 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 25 พฤษภาคม 2556 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 14 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม บัญฑิตวิทยาลัย 
     สถานที่จัดประชุม วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น ม.ขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 22 กุมภาพันธ์ 2556 
     ถึง 22 กุมภาพันธ์ 2556 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2013 
     Issue (เล่มที่) 14 
     หน้าที่พิมพ์ 46 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ Effect of Manual Therapy and Stretching Exercise on using Pain Scale (VAS) in Dental Students with Neck Pain: a Single Blinded Randomized Control Trial (RCT) ผลของการรักษาด้วยหัตถบำบัดและการยืดเหยียดกล้ามเนื้อต่อระดับความเจ็บปวดในนักศึกษา ทันตแพทย์ที่มีอาการปวดคอ (a single blinded randomized control trial (RCT)) Pimonpan Taweekarn (พิมลพรรณ ทวีการ)* Dr. Yodchai Boonprakob (ดร. ยอดชาย บุญประกอบ)** Dr. Daraporn Sae-lee (ดร.ดาราพรดาราพร แซ่ลี้) *** Dr. Teekayu P. Jorns (ดร. ฑีฆายุ พลางกูรจอร์นส) *** Dr. Supunnee Ungpansattawong (ดร. สุพรรณี อึ้งปัญสัตวงศ์)**** Somsak Ruammahasab (สมศักดิสมศักดิ์ รวมมหทรัพย์)***** ABSTRACT Neck pain is a major musculoskeletal disorder (MSDs) among dentists. It begins in their clinical practice as dental students. The objective of this study was to determine the effects of manual therapy and stretching exercises on by using the pain scale (VAS) in dental students with neck pain. Ten participants were in the control group and ten participants were in the treatment group. Both groups received manual therapy twice a week for 2 weeks. Additionally, the treatment group received active stretching daily exercises at home and a booklet with instructions on how to do the exercises. The results show the VAS among participants was not significantly different between groups but was significantly different within groups (p< 0.05). In the future, we should find out the specific treatment and exercise to improve neck pain in the dental students. บทคัดย่อ อาการปวดคอเป็นปัญหาที่พบได้มากในทันตแพทย์ มักเริ่มมีอาการตั้งแต่ขณะให้การรักษาทางคลินิกแก่ผู้ป่วยขณะเป็นนักศึกษา วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือเพื่อศึกษาผลของการรักษาด้วยหัตถบำบัดและการยืดเหยียดกล้ามเนื้อต่อระดับความเจ็บปวดในนักศึกษาทันตแพทย์ที่มีอาการปวดคอ นักศึกษาทันตแพทย์ที่มีอาการปวดคอทั้งสองกลุ่มจำนวน 20 คน จะได้รับการรักษาด้วยหัตบำบัด 2 ครั้งต่อสัปดาห์เป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ร่วมกับกลุ่มรักษาได้รับคู่มือการยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อทำการยืดเหยียดกล้ามเนื้อด้วยตนเองที่บ้านเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์ ผลการศึกษาพบว่าทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันในเรื่องระดับความเจ็บปวดภายหลังที่ได้รับการรักษาทันทีและที่เวลา 2 สัปดาห์แต่ภายในกลุ่มพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) การรักษาด้วยหัตถบำบัดและการยืดเหยียดกล้ามเนื้ออาจช่วยลดระดับความเจ็บปวดในนักศึกษาทันตแพทย์ที่มีอาการปวดคอ ในอนาคตอาจต้องมีการออกแบบการรักษาที่มีรูปแบบเฉพาะเพื่อช่วยลดปัญหาเรื่องอาการปวดคอในนักศึกษา ทันตแพทย์ Key words: pain scale (VAS), neck pain, manual therapy, stretching exercises คำสำคัญ: ระดับความปวด (VAS) อาการปวดคอ หัตถบำบัด การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ * Student, PhD Sport and Exercise Science Program, Graduate School, Khon Kean University, Khon Kean **Assist. Prof.Faculty of Associated Medical Sciences, Khon Kean University *** Assist. Prof. Faculty of Dentistry, Khon Kean University, ****Assoc. Prof. Faculty of Science, Khon Kean University *****Engineer, Khon Kean,  
ผู้เขียน
537100045-8 น.ส. พิมลพรรณ ทวีการ [ผู้เขียนหลัก]
บัณฑิตวิทยาลัย ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0