2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ความแตกฉานด้านสุขภาพระดับพื้นฐานของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น Functional Health Literacy in Patients at Srinagarind Hospital, Khon Kaen Province 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 28 มีนาคม 2557 
การประชุม
     ชื่อการประชุม ารประชุมทางวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม ห้องประชุมชั้น 1 วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 28 มีนาคม 2557 
     ถึง 28 มีนาคม 2557 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 15 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 1855-1865 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ บทคัดย่อ การศึกษาเชิงพรรณนาแบบสำรวจภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความแตกฉานด้านสุขภาพระดับพื้นฐานของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จังหวัดขอนแก่น โดยใช้แบบทดสอบการอ่าน (REALM) ซึ่งได้แปลและประยุกต์จากแบบทดสอบต้นฉบับที่เป็นภาษาอังกฤษ เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ที่เป็นผู้ป่วยใน จาก 28 หอผู้ป่วย จำนวน 367 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ มีอัตราตอบกลับของกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 96.33 (367/381) กลุ่มตัวอย่างมีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพอยู่ในระดับปานกลางและต่ำ ร้อยละ 10.4 และ 2.5 ตามลำดับ อายุและการศึกษามีความสัมพันธ์กับระดับคะแนนความแตกฉานด้านสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.001) ดังนั้น การสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ กับผู้ป่วย ควรปรับให้เหมาะสมกับอายุและการศึกษาของผู้ป่วย ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง เกิดผลดีต่อการดูแลรักษา ABSTRACT This Cross-sectional descriptive study aimed to measure functional health literacy of patients in Srinagarind Hospital, Khon Kaen Province, Thailand. Using the Rapid Estimate of Adult Literacy in Medicine (REALM) Thai version. Participants included 367 patients from 28 wards, using systematic random sampling from the bed number in each ward. Response rate was 96.33 % (367/381). The participants were marginal and low health literacy 10.4 and 2.5% respectively. The Reading scores related to age and education with statistically significant (p <0.001). Conclusions: health communication should be adjust to appropriate with age and education of patients, this will make patients perform correctly and effective treatment.  
ผู้เขียน
535070055-6 นาง บังอรศรี จินดาวงค์ [ผู้เขียนหลัก]
คณะแพทยศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0