2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมของลักษณะการเจริญเติบโตในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ ชั่วรุ่นที่ 7 และชี ชั่วรุ่นที่ 6) 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 8 เมษายน 2557 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการสัตวศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 3 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 
     สถานที่จัดประชุม โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน เชียงใหม่ 
     จังหวัด/รัฐ เชียงใหม่ 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 8 เมษายน 2557 
     ถึง 10 เมษายน 2557 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่) 2351-0188 
     หน้าที่พิมพ์ 293-296 
     Editors/edition/publisher รองศาสตราจารย์เพทาย พงษ์เพียจันทร์ 
     บทคัดย่อ The objective of this study was to estimate genetic parameters of body weight traits at 0 (BW0), 4 (BW4), 8 (BW8), 12 (BW12), and 14 (BW14) weeks of age in Thai indigenous chickens (Pradu Hang dam and Chee) respectively. Data comprised 745 and 533 records of body weight of Pradu Hang dam chicken at seventh generation and Chee chicken at sixth generation were analyzed by multiple-traits model via Expectation Maximization-Restricted Maximum Likelihood technique. The results found that the estimated heritability for BW0, BW4, BW8, Bw12, and BW14 of Pradu Hang dam equal to 0.97, 0.36, 0.35, 0.20, 0.26 respectively, and equal to 0.98, 0.32, 0.19, 0.23, 0.35 respectively for Chee. The genetic correlation of body weight traits between 4 weeks and 8, 12, 14 weeks of age were range between modulate to high (0.40-0.97). Therefore, selection body weight at 4 weeks of age could bring about accuracy and show the good relationship with age at 14 weeks. วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อประมาณค่าพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมลักษณะน้ำหนักตัวเมื่ออายุ 0, 4, 8, 12, และ 14 สัปดาห์ ตามลำดับ ในไก่พื้นเมืองไทย (ประดู่หางดำ และชี) ข้อมูลน้ำหนักตัว จำนวน 745 และ 533 บันทึก จากไก่ประดู่หางดำชั่วรุ่นที่ 7 และ ชี ชั่วรุ่นที่ 6 ถูกวิเคราะห์ด้วยโมเดลหลายลักษณะ โดยวิธีการ Expectation Maximization-Restricted Maximum Likelihood ผลการศึกษาพบว่าค่าอัตราพันธุกรรมลักษณะน้ำหนักตัวเมื่ออายุ 0, 4, 8, 12, และ 14 สัปดาห์ ของไก่ประดู่หางดำ เท่ากับ 0.97, 0.36, 0.35, 0.20, 0.26 ตามลำดับ และเท่ากับ 0.98, 0.32, 0.19, 0.23, 0.35 ตามลำดับ สำหรับไก่ชี ค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมลักษณะน้ำหนักตัวระหว่างอายุ 4 สัปดาห์กับน้ำหนักตัวที่อายุ 8, 12, และ 14 สัปดาห์มีค่าอยู่ในช่วงปานกลางถึงสูง (0.40-0.97) ดังนั้นการคัดเลือกไก่ที่น้ำหนักตัวที่อายุ 4 สัปดาห์จะส่งผลให้มีความแม่นยำและแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์กับน้ำหนักตัวที่ดีเมื่ออายุ 14 สัปดาห์ 
ผู้เขียน
565030021-0 น.ส. พิริยาภรณ์ สังขปรีชา [ผู้เขียนหลัก]
คณะเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ ไม่เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0