2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ ผลของการพ่นกรดจิบเบอเรลลิคต่อการออกดอก และการเปลี่ยนแปลงสารชีวเคมีของบัวหลวงในช่วงฤดูหนาว 
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 13 ธันวาคม 2559 
วารสาร
     ชื่อวารสาร วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 
     มาตรฐานของวารสาร TCI 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 
     ISBN/ISSN ISSN 2351-0846 
     ปีที่
     ฉบับที่ พิเศษ 2 
     เดือน
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2561 
     หน้า  
     บทคัดย่อ บัวหลวงเป็นไม้ตัดดอกชนิดหนึ่งของไทยที่ได้รับความนิยมอย่างสูงตลอดมา เนื่องจากมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนาแต่ยังคงมีข้อจากัดของการผลิต คือ พืชมีการพักตัวในฤดูหนาว ทาให้ผลผลิตออกสู่ตลาดได้น้อย ไม่สามารถผลิตได้ตลอดปี การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของกรดจิบเบอเรลลิค (GA3) ต่อการออกดอกของบัวหลวงในฤดูหนาว ดาเนินการโดยวางแผนการทดลองแบบ CRD โดยพ่น GA3 ความเข้มข้น 0, 200 และ 400 ppm ให้กับบัวหลวงอายุ 1 ปี พ่นสัปดาห์ละครั้ง จนครบ 3 สัปดาห์ บันทึกการเจริญเติบโต การออกดอก และวิเคราะห์หาปริมาณสารชีวเคมีในชิ้นส่วนต่างๆของพืช ผลการทดลอง พบว่าเมื่อพ่น GA3 ในระดับความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้น มีผลทาให้พื้นที่ใบลดลง แต่ความยาวก้านใบ และเปอร์เซ็นต์การออกดอกกลับเพิ่มขึ้นและพบความยาวของก้านดอกมากที่สุด ในบัวที่ได้รับการพ่น GA3 400 ppm เมื่อนาชิ้นส่วนมาวิเคราะห์หาสารชีวเคมี พบว่า ปริมาณไนโตรเจน (N) มีความผันแปรในทุกๆ ชิ้นส่วน ขณะที่เมื่อเพิ่มความเข้มข้นของ GA3 เป็น 400 ppm ทาให้ปริมาณฟอสฟอรัส (P) ในใบ และก้านใบ ปริมาณโพแทสเซียม (K) ในก้านใบ มีค่ามากที่สุด อย่างไรก็ตาม การพ่น GA3 ในระดับความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้นกลับทาให้ปริมาณน้าตาลรีดิวซ์ (reducing sugar; RS) ในใบ ก้านใบ และไหล มีค่าลดลง 
     คำสำคัญ กรดจิบเบอเรลลิค บัวหลวง ธาตุอาหาร สารชีวเคมี 
ผู้เขียน
565030110-3 น.ส. คัทลียา สำราญญาติ [ผู้เขียนหลัก]
คณะเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ตีพิมพ์แล้ว 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
แนบไฟล์
Citation 0