2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ผลของความพรุนต่อความต้านทานแรงอัดของวัสดุพอลิเมทิลเมทาคริเลต 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 3 กรกฎาคม 2562 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
     สถานที่จัดประชุม โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ 
     จังหวัด/รัฐ อุดรธานี 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 2 กรกฎาคม 2562 
     ถึง 5 กรกฎาคม 2562 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2562 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 258-264 
     Editors/edition/publisher สมาคมวิศวกรเครื่องกลไทย 
     บทคัดย่อ พอลิเมทิลเมทาคริเลต (PMMA) หรือซีเมนต์กระดูก ถูกใช้อย่างแพร่หลายในทางการแพทย์ การผสมซีเมนต์กระดูกด้วยปัจจัยที่แตกต่างกัน เช่นการผสมด้วยมือหรือใช้เครื่องมือช่วยผสม ส่งผลให้เกิดฟองอากาศหรือความพรุนภายในเนื้อวัสดุที่แตกต่างกัน เป้าหมายของงานวิจัยนี้คือการศึกษาความสามารถในการรับแรงอัดของวัสดุพอลิเมทิลเมทา-คริเลตที่มีความพรุนเปลี่ยนไป โดยการใช้สารเติมแต่งที่ทาให้เกิดฟองอากาศ คือโซเดียมไบคาร์บอเนตและกรดซิตริก ในสัดส่วนที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง G0 (0% โซเดียมไบคาร์บอเนต ต่อ พอลิเมทิลเมทาคริเลต), G5 (5%), G10 (10%), G15 (15%), G20 (20%), G25 (25%), G30 (30%) และ G35 (35%) ชิ้นทดสอบทรงกระบอกจานวนการทดลองซ้าที่ 5 ครั้งต่อกลุ่มตัวอย่าง ถูกทดสอบวิเคราะห์ค่าการรับแรงอัดด้วยเครื่องทดสอบยูนิเวอร์แซล ตามมาตรฐานการทดสอบซีเมนต์กระดูก ASTM F451-16 ผลการทดลองพบว่า ค่าความต้านทานแรงอัดลดลงเมื่อสัดส่วนของโซเดียมคาร์บอเนต ต่อพอลิเมทิลเมทาคริเลต เพิ่มขึ้นถึง 15% จากนั้นจะคงที่ 
ผู้เขียน
595040041-1 นาย ศิวกร อะโนศรี [ผู้เขียนหลัก]
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0