Custom_32
รายละเอียดของรายวิชา แบบ วช. 04
 
     
  1. รหัสและชื่อวิชา
   
117 443
โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง
RUMINANT NUTRITION
3 (2-3-2)
  2. จำนวนหน่วยกิต
    3 หน่วยกิต(จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 2 ชม. ปฏิบัติการ 3 ชม. ศึกษาด้วยตัวเอง 2 ชม.)
  3. สังกัดวิชา
   
ภาควิชา/สาขาวิชา สัตวศาสตร์
คณะเกษตรศาสตร์
  4. คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
   
หลักการสมัยใหม่ด้านโภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง การใช้หลักทฤษฎีประยุกต์ใน โภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต รวมไปถึงวัสดุอาหารและประสิทธิภาพของการใช้อาหารในการผลิตสัตว์เคี้ยวเอื้อง
Modern principles in ruminant nutrition, theoretical applications in ruminant nutrition to increase the efficiency of production, feed resources and feed utilization in ruminant production.
  5. เงื่อนไขของรายวิชา(Prerequisite)
    มี 117 101
  6. ประเภทวิชา
    เป็นวิชาเฉพาะ เป็นวิชาเลือกสำหรับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
เป็น
  7. ภาคการศึกษาที่เปิดสอน และปีการศึกษาที่จะเริ่มเปิดสอน
    เปิดสอนประจำภาคการศึกษาต้นหรือ1และภาคการศึกษาปลายหรือ2 เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 เป็นต้นไป
  8. อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ที่ปรึกษา
   
รศ.ดร. ฉลอง วชิราภากร
     
 
  หัวข้อ บรรยาย (จำนวน ชม.) ปฏิบัติ (จำนวน ชม.)
    1. บทนำ 2 0
    2. สรีรวิทยาทางเดินอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 3 0
    3. ระบบนิเวศวิทยาในกระเพาะรูเมนและการปรับเปลี่ยน 4 0
    4. กลไกการควบคุมการกินได้ในสัตว์เคี้ยวเอื้อง 2 0
    5. หลักการและขบวนการการใช้ประโยชน์ของโภชนะต่าง ๆ 6 0
    6. ระบบการให้อาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 4 0
    7. แนวทางการใช้ผลพลอยได้ทางการเกษตรเป็นอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง 3 0
    8. อาการผิดปกติที่เกิดจากสภาวะทางโภชนาการ 3 0
    9. เทคโนโลยีชีวภาพกับโภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้อง 2 0
    10. แนวทางการวิจัยด้านโภชนศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้องในประเทศที่กำลังพัฒนา 1 0
    11. จุลินทรีย์ในกระเพาะรูเมน 0 3
    12. การวิเคราะห์ Neutral detergent fiber (NDF) 0 3
    13. การวิเคราะห์ Acid Detergent fiber (ADF) 0 3
    14. การวิเคราะห์ Acid detergent lignin (ADL) 0 3
    15. การวิเคราะห์การย่อยได้ (Nylon bag) 0 3
    16. การเก็บตัวอย่างในกระเพาะรูเมน (Rumen sampling technique) 0 6
    17. การวิเคราะห์กรดไขมันที่ระเหยได้ (VFA Analysis) 0 6
    18. การวิเคราะห์แอมโมเนีย (NH3-N/BUN Analysis) 0 3
    19. การประกอบสูตรอาหาร (Feed formulation) 0 15
 
รวม
30 45


 
กลุ่มภารกิจพัฒนาวิชาการ สำนักบริหารและพัฒนาวิชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร 043 203200 ภายใน 11940