Custom_32
รายละเอียดของรายวิชา แบบ วช. 04
 
     
  1. รหัสและชื่อวิชา
   
380 753
หลักเบื้องต้นทางประสาทสรีรวิทยาและการตรวจทางไฟฟ้าวินิจฉัย
Basic Principles of Clinical Neurophysiology and Electrodiagnosis
8 (1-21-10)
  2. จำนวนหน่วยกิต
    8 หน่วยกิต(จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 1 ชม. ปฏิบัติการ 21 ชม. ศึกษาด้วยตัวเอง 10 ชม.)
  3. สังกัดวิชา
   
ภาควิชา/สาขาวิชา
คณะแพทยศาสตร์
  4. คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
   

ความรู้พื้นฐานเรื่องประสาทสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อและเส้นประสาท เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย การตรวจวัดความเร็วของเส้นประสาท การตรวจคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ การตรวจ evoked potential  การแปลผลขั้นพื้นฐาน ข้อควรระวังที่จะเกิดจากความผิดพลาดในการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย  การฝึกตรวจประเมินภาวะผิดปกติของกล้ามเนื้อ และระบบประสาทส่วน โดยอาศัยเทคนิคการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยพื้นฐาน  การศึกษาการนำไฟฟ้าของประสาท (NCS) การบันทึกกล้ามเนื้อหดตัวของไฟฟ้า (EMG) การแปลผลการตรวจ และข้อผิดพลาดที่พบบ่อยในการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย

Basic knowledge of neurophysiology of muscle and nerve, electrodiagnosis instruments, nerve conduction study, needle EMG study, evoked potential study and basic interpretation, pitfall in electrodiagnosis, practice in assesment of muscular and neurological abnormality caused by neuromuscular disorders with electrodiagnostic techniques - nerve conduction study (NCS), electromyography (EMG), interpretation of findings and common pitfalls in electrodiagnosis.

  5. เงื่อนไขของรายวิชา(Prerequisite)
    ไม่มี
  6. ประเภทวิชา
    เป็น เป็นวิชาบังคับสำหรับหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์
เป็น
  7. ภาคการศึกษาที่เปิดสอน และปีการศึกษาที่จะเริ่มเปิดสอน
    ไม่พบข้อมูล
  8. อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ที่ปรึกษา
    ไม่พบข้อมูล
     
 
  หัวข้อ บรรยาย (จำนวน ชม.) ปฏิบัติ (จำนวน ชม.)
    1. ประสาทสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อและเส้นประสาท 3 0
    2. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย 3 0
    3. เทคนิควิธีการตรวจกระตุ้นเส้นประสาทและการแปลผลเบื้องต้น 3 0
    4. เทคนิควิธีการตรวจ needle electromyography และการแปลผลเบื้องต้น 2 0
    5. เทคนิควิธีการตรวจ evoked potential และการแปลผลเบื้องต้น 2 0
    6. ข้อผิดพลาดที่พบบ่อยของการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย 2 0
    7. การฝึกปฏิบัติงานเพื่อตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย ดังนี้ - ประเมินผู้ป่วย - วางแผนการศึกษา - ตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย - อภิปรายกับอาจารย์ผู้สอน เพื่อแปลผลการตรวจ 0 315
 
รวม
15 315


 
กลุ่มภารกิจพัฒนาวิชาการ สำนักบริหารและพัฒนาวิชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร 043 203200 ภายใน 11940