Custom_32
รายละเอียดของรายวิชา แบบ วช. 04
 
     
  1. รหัสและชื่อวิชา
   
420 311
สันติศึกษากับการพัฒนา
Peace Studies and Development
3 (3-0-3)
  2. จำนวนหน่วยกิต
    3 หน่วยกิต(จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 3 ชม. ปฏิบัติการ 0 ชม. ศึกษาด้วยตัวเอง 3 ชม.)
  3. สังกัดวิชา
   
ภาควิชา/สาขาวิชา พัฒนาสังคม
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  4. คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
   
แนวคิด  วิธีการ  รูปแบบการสร้างความร่วมมือและการมีส่วนร่วมหรือหุ้นส่วนการพัฒาเพื่อสร้างความสมานฉันท์หรือสันติสุขในชุมชนหรือระหว่างชุมชน  การป้องกันและแก้ไขปัญหาความความขัดแย้งอันเนื่องมาจากแนวคิด  นโยบาย  และโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ  สังคม  การเมืองและสิ่งแวดล้อมในระดับท้องถิ่น  และระดับประเทศ  รวมทั้งศึกษากรณีตัวอย่างเกี่ยวกับความร่วมมือและความขัดแย้งของบุคคล  กลุ่มบุคคล  องค์กรและสถาบันต่างๆ  ตลอดจนปัญหา  อุปสรรค  และข้อเสนอแนะ                       

 

Concepts, methods, pattern of cooperation, participation and development partnership for reconciliation  and peace within or between the communities. Conflict prevention and dispute resolution which are due to the concepts, policies and development projects concerning with  social, economical, political and environmental aspects at both local and national levels; case studies on individual, group, organizational and institutional conflicts, problems, obstacles and recommendations for their resolution are also considered.
  5. เงื่อนไขของรายวิชา(Prerequisite)
    ไม่มี
  6. ประเภทวิชา
    เป็นวิชาเลือกเสรี เป็นวิชาเลือกสำหรับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการพัฒนาสังคม
เป็น
  7. ภาคการศึกษาที่เปิดสอน และปีการศึกษาที่จะเริ่มเปิดสอน
    เปิดสอนประจำภาคการศึกษาต้นหรือ1 เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 เป็นต้นไป
  8. อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ที่ปรึกษา
   
รศ. สมนึก ปัญญาสิงห์
     
 
  หัวข้อ บรรยาย (จำนวน ชม.) ปฏิบัติ (จำนวน ชม.)
    1. แนวคิด ทฤษฎี หลักการและวิธีการที่เกี่ยวข้องกับสันติศึกษา (Peace Studies) 6 0
    2. รูปแบบการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมหรือหุ้นส่วนการพัฒนากับการเปลี่ยนแปลงอย่างสันติ 8 0
    2. รูปแบบการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมหรือหุ้นส่วนการพัฒนากับการเปลี่ยนแปลงอย่างสันติ 9 0
    4. กรณีตัวอย่าง เกี่ยวกับความขัดแย้งและทางเลือกในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง หรือ 7 0
    5. การศึกษาประวัติและผลงานทางด้านแนวคิดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันและ แก้ไขปัญหาความขัดแย้งของบุคคลสำคัญ 9 0
    6. วิกฤตการณ์ของปัญหา เงื่อนไขและสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และการพัฒนา 6 0
 
รวม
45 0


 
กลุ่มภารกิจพัฒนาวิชาการ สำนักบริหารและพัฒนาวิชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร 043 203200 ภายใน 11940