Custom_32
รายละเอียดของรายวิชา แบบ วช. 04
 
     
  1. รหัสและชื่อวิชา
   
464 315
ปฏิบัติการเทคนิคทางวิทยาภูมิคุ้มกัน
Laboratory Techniques in Immunology
1 (0-3-1)
  2. จำนวนหน่วยกิต
    1 หน่วยกิต(จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 0 ชม. ปฏิบัติการ 3 ชม. ศึกษาด้วยตัวเอง 1 ชม.)
  3. สังกัดวิชา
   
ภาควิชา/สาขาวิชา ทุกภาควิชา
คณะเทคนิคการแพทย์
  4. คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
   

เทคนิคพื้นฐานในห้องปฏิบัติการทางวิทยาภูมิคุ้มกัน การเจือจาง การทำบลอคไตเตรชั่น และ การปรับมาตรฐานสำหรับปฏิกิริยาการจับกลุ่ม และการติดฉลากด้วยเอนไซม์ (อีไลซ่า) เทคนิคการตรวจหาปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดีโดยหลักการตกตะกอน และฟลอคคูเลชั่น เทคนิคอิมมูโนดิฟฟิวชั่น ปฏิกิริยาการจับกลุ่ม การทดสอบอิมมูโนบลอท การตรวจหาการทำงานของคอมพลีเมนต์ การแยกเม็ดเลือดขาว การทดสอบฟาโกไซโตซิส การทำอิมมูนพลากฟอร์เมชั่น การตรวจสอบการทำงานของเซลล์ทางภูมิคุ้มกัน เทคนิคที่ทดสอบได้อย่างรวดเร็วทางวิทยาภูมิคุ้มกันคลินิก และการเก็บตัวอย่างเพื่อการทดสอบและการควบคุมคุณภาพ

Basic techniques in immunology laboratory, dilution, block titration and standardization of agglutination and ELISA techniques, detection of antigen-antibody reaction by precipitation, flocculation, immunodiffusion and immunoblotting, detection of complement activity, isolation of lymphocyte and polymorphonuclear cells, phagocytosis, immune plaque formation assay, tests of cellular immune function, rapid immunological techniques and specimen collection for immunological tests and quality control.

  5. เงื่อนไขของรายวิชา(Prerequisite)
    มี รายวิชาควบ 464 314 หรือ 464 314#
  6. ประเภทวิชา
    เป็น
เป็น
  7. ภาคการศึกษาที่เปิดสอน และปีการศึกษาที่จะเริ่มเปิดสอน
    เปิดสอนประจำภาคการศึกษาต้นหรือ1 เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 เป็นต้นไป
  8. อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ที่ปรึกษา
   
ผศ. วิญญู วงศ์ประทุม
     
 
  หัวข้อ บรรยาย (จำนวน ชม.) ปฏิบัติ (จำนวน ชม.)
    1.เทคนิคพื้นฐานในห้องปฎิบัติการทางวิทยาภูมิคุ้มกัน 0 3
    2.การเจือจาง การทำบลอคไตเตรชั่น และการปรับมาตรฐานสำหรับปฎิกิริยาการจับกลุ่ม 0 3
    3.การปรับมาตรฐานสำหรับปฎิกิริยาการติดฉลากด้วยเอนไซม์ (อีไลซ่า) 0 3
    4.เทคนิคการตรวจหาปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดีโดยหลักการตกตะกอนและฟลอคคูเลชั่น 0 3
    5.ปฏิกิริยาการจับกลุ่ม 0 3
    6.เทคนิคอิมมูโนดิฟฟิวชั่น 0 3
    7.การทดสอบอิมมูโนบลอท 0 3
    8.การตรวจหาการทำงานของคอมพลีเมนต์ 0 3
    9.การแยกเม็ดเลือดขาว 0 3
    10.การทดสอบฟาโกไซโตซิส 0 3
    11.การทำอิมมูนพลากฟอร์เมชั่น 0 3
    12.การตรวจสอบการทำงานของเซลล์ทางภูมิคุ้มกัน 0 3
    13.เทคนิคที่ทดสอบได้อย่างรวดเร็วทางวิทยาภูมิคุ้มกันคลินิก 0 3
    14.การเก็บตัวอย่างเพื่อการทดสอบและการควบคุมคุณภาพ 0 3
    15.เทคนิคใหม่ๆทางวิทยาภูมิคุ้มกัน 0 3
 
รวม
0 45


 
กลุ่มภารกิจพัฒนาวิชาการ สำนักบริหารและพัฒนาวิชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร 043 203200 ภายใน 11940