Custom_32
รายละเอียดของรายวิชา แบบ วช. 04
 
     
  1. รหัสและชื่อวิชา
   
717 723
โรคสุกรและการจัดการฟาร์ม
Swine diseases and farm management
3 (2-3-2)
  2. จำนวนหน่วยกิต
    3 หน่วยกิต(จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 2 ชม. ปฏิบัติการ 3 ชม. ศึกษาด้วยตัวเอง 2 ชม.)
  3. สังกัดวิชา
   
ภาควิชา/สาขาวิชา
คณะสัตวแพทยศาสตร์
  4. คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
   
                       การเรียนการสอน สัมมนาและอภิปรายในเรื่องการศึกษาอย่างเข้มข้นทางพยาธิสรีรวิทยาของการเกิดโรคในหัวข้อที่คัดสรรทางด้านโรคสุกร การวินิจฉัย การรักษาและการป้องกันโรคในโรคหรือปัญหาที่คัดสรรมาของระบบต่างๆ ในสุกร ทั้งรายตัวและระดับฟาร์มโดยอาศัยสารสนเทศจากการวินิจฉัยจากห้องปฏิบัติการและที่ได้จากฐานข้อมูลของฟาร์ม มีการอภิปรายในเรื่องการจัดการด้านความปลอดภัยเชิงชีวภาพ การจัดกลุ่มสุกร การคงสุขภาพของสุกร โปรแกรมการให้วัคซีน การให้สารปฏิชีวนะในการป้องกันโรค และ การให้ความรู้แก่บุคลากรของฟาร์ม                 
  Instruction, seminars, and discussions devoted intense study of new pathophysiology aspects of selected topics in pig diseases including diagnosis, treatment and prevention of an individual and farm pigs using the information from both diagnostic laboratory and farm database. Discussion of biosecurity arrangements, pig flow, swine health maintenance, vaccination programs, antimicrobial used and staff training.
  5. เงื่อนไขของรายวิชา(Prerequisite)
    มี สพ.บ. หรือในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  6. ประเภทวิชา
    เป็นวิชาเฉพาะ
เป็นวิชาเฉพาะ
  7. ภาคการศึกษาที่เปิดสอน และปีการศึกษาที่จะเริ่มเปิดสอน
    ไม่พบข้อมูล
  8. อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ที่ปรึกษา
   
ผศ. กชกร ดิเรกศิลป์
     
 
  หัวข้อ บรรยาย (จำนวน ชม.) ปฏิบัติ (จำนวน ชม.)
    1.การวินิจฉัย รักษาและ ป้องกันโรคในสุกร 0 0
    1.1 โรคที่เกิดจากแบคทีเรีย 2 3
    1.2 โรคที่เกิดจากเชื้อรา 2 3
    1.3 โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส 2 3
    1.4 โรคที่เกิดจากน้ำ 2 3
    1.5 โรคที่เกิดจากอาหาร 2 3
    1.6 โรคที่เกิดจากการจัดการ 2 3
    2. การจัดการด้านความปลอดภัยเชิงชีวภาพของฟาร์ม 3 6
    3. การจัดการกลุ่มสุกร (Pig Flow) 3 6
    4. การรักษาสุขภาพของสุกร 3 6
    5. โปรแกรมการป้องกันโรค 5 6
    6. การให้ความรู้แก่บุคลากรฟาร์ม 4 3
 
รวม
30 45


 
กลุ่มภารกิจพัฒนาวิชาการ สำนักบริหารและพัฒนาวิชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร 043 203200 ภายใน 11940