Custom_32
รายละเอียดของรายวิชา แบบ วช. 04
 
     
  1. รหัสและชื่อวิชา
   
717 726
อายุรศาสตร์สัตว์เคี้ยวเอื้องขั้นสูง
Advanced Ruminant Medicine
3 (2-3-2)
  2. จำนวนหน่วยกิต
    3 หน่วยกิต(จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ บรรยาย 2 ชม. ปฏิบัติการ 3 ชม. ศึกษาด้วยตัวเอง 2 ชม.)
  3. สังกัดวิชา
   
ภาควิชา/สาขาวิชา
คณะสัตวแพทยศาสตร์
  4. คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
   
การเรียนการสอน สัมมนาและอภิปรายเกี่ยวกับการศึกษาอย่างจริงจังในโรคหรือปัญหาที่คัดสรรสัตว์เคี้ยวเอื้อง เช่นพยาธิสรีรวิทยาของการเกิดโรค เทคนิคทางคลินิก การไปสู่การวินิจฉัย กลยุทธ์การรักษา การควบคุมและป้องกันโรคหรือปัญหาสุขภาพที่สำคัญในสัตว์เคี้ยวเอื้อง อาทิเช่น โค กระบือ แพะและแกะ กลไกโรค พยาธิสรีรวิทยาการตรวจวินิจฉัย หลักการวินิจฉัยและรักษาโรคติดเชื้อ การจัดการภาวะฉุกเฉินและเวชบำบัดวิกฤต โภชนวิทยาคลินิกและความผิดปกติแต่กำเนิดและที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมและยาป้องกัน จุดเน้นขั้นต้นจะเป็นประสบการณ์ทางคลินิกในการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดในสัตว์เคี้ยวเอื้องรายตัวและระดับฟาร์ม

                      

Instruction, seminar, and discussions devoted intense study in selected diseases or problems of ruminants, i.e. pathophysiology, clinical techniques, diagnostic approach, therapeutic strategies, control and prevention of diseases or health problems in ruminants, including cattle, sheep and goat.  Disease mechanism, pathophysiology, and principles of diagnosis and treatment of infectious diseases, emergency management, critical care medicine, clinical nutrition, congenital and hereditary disorders, and preventive medicine. The primary focus on clinical experience in health problem solving for both individuals and ruminant farms.  
  5. เงื่อนไขของรายวิชา(Prerequisite)
    มี สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.)
  6. ประเภทวิชา
    เป็นวิชาเลือกเสรี
เป็นวิชาเลือกเสรี
  7. ภาคการศึกษาที่เปิดสอน และปีการศึกษาที่จะเริ่มเปิดสอน
    ไม่พบข้อมูล
  8. อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ที่ปรึกษา
   
ผศ.ดร. ไชยพัศร์ ธำรงยศวิทยากุล
     
 
  หัวข้อ บรรยาย (จำนวน ชม.) ปฏิบัติ (จำนวน ชม.)
    1. กลไกการเกิดโรค การตรวจวินิจฉัยหลักการรักษาโรคติดเชื้อที่สำคัญในสัตว์เคี้ยวเอื้อง 6 6
    2. การจัดการภาวะฉุกเฉิน ในระบบทางเดินหายใจระบบย่อยอาหาร ระบบสืบพันธุ์ และจากสารพิษ 6 6
    3. เวชบำบัดวิกฤต 5 8
    4. โภชนวิทยาคลินิก 4 8
    5. ความผิดปกติแต่กำเนิดและโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุ 5 5
    6. เวชศาสตร์การป้องกัน 4 8
 
รวม
30 41


 
กลุ่มภารกิจพัฒนาวิชาการ สำนักบริหารและพัฒนาวิชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โทร 043 203200 ภายใน 11940