|
|
|
|
1. ชื่อหลักสูตร |
|
|
ภาษาไทย |
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ |
ภาษาอังกฤษ |
Higher Graduate Diploma Program in Clinical Medical Sciences Program in Orthopaedics |
|
|
2. ชื่อปริญญา |
|
|
ภาษาไทย |
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ออร์โธปิดิกส์)
ป.บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (ออร์โธปิดิกส์)
|
ภาษาอังกฤษ |
Higher Graduate Diploma in Clinical Medical Sciences (Orthopaedics)
Higher Grad. Dip. in Clinical Medical Sciences (Orthopaedics)
|
|
|
3. ระดับการศึกษา |
|
|
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง |
|
4. สังกัดคณะ |
|
|
คณะแพทยศาสตร์ |
|
5. สังกัดภาควิชา/สาขาวิชา |
|
|
ออร์โธปิดิกส์ |
|
6. วัตถุประสงค์ |
|
|
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ ดังนี้4.3.1 เพื่อให้ได้แพทย์ที่มีความรู้ ทั้งในความรู้พื้นฐานด้านศัลยศาสตร์ ออร์โธปิดิกส์และศาสตร์ด้านอื่น ๆ รวมทั้งความรู้ระดับสูงในทางออร์โธปิดิกส์ ที่สามารถประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการบำบัดรักษา ฟื้นฟูผู้ป่วยที่เกิดจากโรคหรือภาวะผิดปกติของระบบโครงร่างและกล้ามเนื้อ รวมทั้งมีความรู้ด้านบริหารจัดการผู้ป่วยและทีม ด้านการวิเคราะห์วิจัย เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่พัฒนาการดูแลรักษา รวมถึงการป้องกันและการสร้างสุขภาวะที่ดีต่อประชาชนทั่วไปได้เป็นอย่างดี4.3.2 เพื่อให้ได้แพทย์ที่มีทักษะ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ในการประเมินวิเคราะห์ปัญหาของระบบโครงร่างและกล้ามเนื้ออย่างเป็นระบบ เหมาะสมและครอบคลุม มีความสามารถในการทำหัตถการและการผ่าตัดทางออร์โธปิดิกส์ รู้จักใช้วิทยาการและวิจารณญาณอย่างเหมาะสม บริหารทีมและทำงานร่วมกับสาขาวิชาชีพอื่นได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ สื่อสารกับผู้ป่วยและผู้ร่วมงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริหารจัดการทรัพยากรและข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ การดูแลบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยแบบองค์รวม (Holistic approach), แบบผสมผสานครอบคลุม (Comprehensive approach) เพื่อการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การป้องกัน การวินิจฉัย การให้การบำบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วย การส่งต่อและการติดตามในระยะยาว สามารถทำวิจัยเพื่อพัฒนางานและสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่นำมาใช้บำบัดรักษาผู้ป่วยได้ดี4.3.3 เพื่อให้ได้แพทย์ที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ มีความกระตือรือร้นและมุ่งมั่นในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ใฝ่รู้ ติดตามวิทยาการใหม่ ๆ มีความเสียสละ ซื่อสัตย์ มีความสุขและมีใจรักการทำงาน และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อนักศึกษาแพทย์ ผู้ร่วมงานและบุคคลทั่วไป |
|
7. กำหนดการเปิดสอน |
|
|
จะเปิดดำเนินการเรียนการสอนหลักสูตรนี้ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2551 เป็นต้นไป
|
|
8. สถานะหลักสูตร |
|
|
เปิด
|
|
9. อาจารย์ |
|
|
9.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร |
|
|
ศ. พลศักดิ์ จีระวิพูลวรรณ
|
|
9.2 อาจารย์ประจำหลักสูตร |
|
|
ศ. วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
ศ. สุกิจ แสงนิพันธ์กูล
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
ศ. พลศักดิ์ จีระวิพูลวรรณ
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
ศ. วีระชัย โควสุวรรณ
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
ผศ. กิติวรรณ วิปุลากร
|
(ประจำแล้ว 0 หลักสูตร)
|
|
9.3 อาจารย์ผู้สอน |
|
|
ศ. วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม
|
2
|
|
ศ. พลศักดิ์ จีระวิพูลวรรณ
|
3
|
|
รศ.ดร. กิตติ จิระรัตนโพธิ์ชัย
|
4
|
|
รศ. ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
|
6
|
|
ผศ. ปิยวรรณ จตุปาริสุทธิ์
|
9
|
|
ผศ. สุรัตน์ เจียรณ์มงคล
|
9
|
|
ผศ. เสริมศักดิ์ สุมานนท์
|
9
|
|
อ.ดร. บุษบามินตรา ฉลวยแสง
|
10
|
|
อ. ชัชวาล ศานติพิพัฒน์
|
12
|
|
|
|
|
|