2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ การพัฒนาแบบวัดคุณภาพชีวิตครอบครัวคนพิการไทย 
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 8 ธันวาคม 2557 
วารสาร
     ชื่อวารสาร วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ 
     มาตรฐานของวารสาร TCI 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     ISBN/ISSN 0125-7021 
     ปีที่ 37 
     ฉบับที่
     เดือน ตุลาคม-ธันวาคม
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2558 
     หน้า 13-26 
     บทคัดย่อ การพัฒนาแบบวัดคุณภาพชีวิตครอบครัวคนพิการไทย* Development of Family Quality of Life Scale for Thai Families Who Have Persons with Disabilities ธิรากร มณีรัตน์ พย.ม.**, ดารุณี จงอุดมการณ์***, จิราพร เขียวอยู่*** Thirakorn Maneerat, Darunee Jongudomkarn , Jiraporn Khiewyoo บทคัดย่อ การวิจัยแบบผสานวิธีนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบวัด คุณภาพชีวิตครอบครัวคนพิการไทย ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการสนทนากลุ่มกับสมาชิกครอบครัวที่มีคนพิการ 31 คน วิเคราะห์เนื้อหาและจัดทำโครงร่างแบบวัด ใช้เทคนิคเดลฟายเพื่อประมวลข้อคำถามโดยผู้เชี่ยวชาญ 11 ท่าน และทดสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 10 ท่าน ทดสอบความตรงเชิงโครงสร้างด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจจากกลุ่มตัวอย่าง 346 คน ทดสอบความเที่ยงเชิงสอดคล้องภายในของแบบวัดด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แอลฟา ผลการศึกษาพบว่า แบบวัดคุณภาพชีวิตครอบครัวคนพิการไทย มี 30 ข้อ 5 องค์ประกอบ คือสัมพันธภาพในครอบครัว สุขภาพและสิ่งแวดล้อม การเลี้ยงดูบุตร ข่าวสารและสวัสดิการ และ การสนับสนุนทางสังคมและอารมณ์ ซึ่งควรศึกษาคุณสมบัติของเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นเพิ่มเติม เพื่อให้สามารถใช้ในกลุ่มคนพิการที่กว้างขึ้น คำสำคัญ: คุณภาพชีวิตครอบครัว คนพิการ การพัฒนาเครื่องมือ Abstract This mixed-method study aimed to develop a tool to measure family quality of life of the Thai families who have persons with disabilities (FQOL-PD). The focus group discussion of 31 family members of person with disabilities in Khon Kaen province was conducted. Content analysis was used to analyse data and then to formulate the tool. Delphi technique was used to gather information from 11 experts to generate the tools items. Content validity was assessed by 10 experts. An exploratory factor analysis was done with 346 family members of PD to ensure the construct validity of the formulated tool. The internal consistency reliability was tested by using the Cronbach’s alpha coefficience. The final version 30-items FQOL-PD was comprised of 30-items with 5 factors including; family relations; family health and environment; child rearing; information and support system; and emotional and social support factors. Future research is needed to refine and psychometric properties in order to broaden the measurement in the family of persons with various disabilities. Keywords: family quality of life, person with disabilities, instrument development. *ได้รับทุนสนับสนุนจาก Centre for Research and Training on Gender and Women's Health [CRTGWH KKU] ** นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น *** รองศาสตราจารย์ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมเพศภาวะและสุขภาพสตรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น **** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  
     คำสำคัญ คุณภาพชีวิตครอบครัว คนพิการ การพัฒนาเครื่องมือ 
ผู้เขียน
527060002-6 นาง ธิรากร มณีรัตน์ [ผู้เขียนหลัก]
คณะพยาบาลศาสตร์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ตีพิมพ์แล้ว 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation ไม่มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
แนบไฟล์
Citation 0