ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
อิทธิพลของความลึกและความเค็มของน้ำใต้ดินที่มีผลต่อคุณสมบัติของดินรอบรากพืชเด่นในพื้นที่ดินเค็มน้อยบริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำชีตอนบนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
|
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
30 ตุลาคม 2558 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 36 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
สถานที่จัดประชุม |
อาคารเทพ พงษ์พานิช วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
จังหวัด/รัฐ |
เชียงใหม่ |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
29 ตุลาคม 2558 |
ถึง |
31 ตุลาคม 2558 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
- |
Issue (เล่มที่) |
- |
หน้าที่พิมพ์ |
545-552 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
การศึกษาอิทธิพลของความลึกและความเค็มของน้ำใต้ดินที่มีผลต่อคุณสมบัติของดินบริเวณรอบรากพืชเด่นทนเค็มในพื้นที่ดินเค็มน้อยที่พบการกระจายคราบเกลือน้อยกว่าร้อยละ 1 ของพื้นที่ ในจังหวัดชัยภูมิ, จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดกาฬสินธุ์บริเวณพื้นที่ลุ่มน้ำชีตอนบนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย พบว่าระดับความลึกของน้ำใต้ดินช่วงฤดูแล้งในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิมีระดับตื้นสุด คือ 194 cm และมีค่าการนำไฟฟ้าของน้ำใต้ดิน (ECw) 2.82 dS/m ซึ่งสูงกว่าค่าการนำไฟฟ้าของน้ำใต้ดินในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและจังหวัดกาฬสินธุ์ และพบว่าความเค็มของดินรอบรากพืชเด่นในพื้นที่จังหวัดชัยภูมิมีค่าการนำไฟฟ้าที่วัดในดินอิ่มตัวด้วยน้ำ (ECe) 2.52 dS/m ซึ่งสูงกว่าพื้นที่อื่น รองลงมาคือพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและต่ำสุดพื้นที่จังหวัดกาฬสินธุ์ มีค่า ECe 0.7 dS/m และ 0.54 dS/m ตามลำดับ แสดงว่าค่าความเค็มของดินรอบรากพืชได้รับอิทธิพลจากระดับความลึกและความเค็มของน้ำใต้ดิน |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Poster |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ใช้สำหรับสำเร็จการศึกษา |
ไม่เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|