2012 ©
             Publication
Journal Publication
Title of Article ความเชื่อกับการก่อรูปหมู่บ้านและเรือนชาวกูย:กรณีศึกษาบ้านโนนสำโรง จังหวัดศรีสะเกษ 
Date of Acceptance 9 December 2015 
Journal
     Title of Journal วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     Standard TCI 
     Institute of Journal คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     ISBN/ISSN 16854489 
     Volume 14 
     Issue
     Month กรกฎาคม-ธันวาคม
     Year of Publication 2015 
     Page 27 
     Abstract บทความนี้ศกึ ษาลกั ษณะทางกายภาพหม่บู ้าน ผงั หม่บู ้าน ผงั เรอื น ความเชอื่ ซงึ่ สมั พนั ธ์กบั การวางผงั หม่บู ้าน และผังเรือน รวมถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการก่อรูปหมู่บ้านและเรือนที่ยังคงความเชื่อแบบดั้งเดิม จากการศึกษา พบว่า การก่อรูปหมู่บ้านมีการวางผังหมู่บ้านให้สอดคล้องกับทิศความเชื่อ โดยมีการจัดสรรพื้นที่โดยอาศัยหลัก ความเชื่อและพิจารณาตามความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม สภาพภูมิประเทศ มีทิศดีกับทิศไม่ดีเป็นตัวก􀄞ำหนด รูปแบบการวางผังหมู่บ้านและผังเรือนดั้งเดิม ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 ประเภท เมื่อพิจารณาตามทิศความเชื่อในการจัดวาง พื้นที่ใช้สอยภายในเรือน อย่างไรก็ตามสิ่งที่มีร่วมกันคือ ความเชื่อ ไม่ว่าจะเป็นความเชื่อในการวางผังเรือน ความเชื่อ เกี่ยวกับผีและการโสก อันเป็นรากฐานของเรือนพื้นถิ่นชาวกูย เช่น ต􀄞ำแหน่งหัวนอนต้องหลีกเลี่ยงการปะทะกับทิศ ไม่ดีเพราะจะท􀄞ำให้เกิดความไม่เป็นมงคล เป็นต้น นอกจากนี้ความเชื่อเรื่องการโสกมักสัมพันธ์กับแนวปฏิบัติในการจัด พื้นที่ภายในเรือน รวมไปถึงตัวเลขซึ่งมักสัมพันธ์กับเลขคี่ โสกส􀄞ำหรับชาวกูยจึงไม่ได้เป็นเพียงแค่ความเชื่อ แต่โสกยัง เป็นกุศโลบายในการสืบทอดภูมิปัญญาต่อเนื่องกันจากรุ่นสู่รุ่น โดยอาศัยเครื่องมือคือความเชื่อ การที่ชุมชนยึดถือ ปฏิบัติตามแนวคิด ความเชื่อ วัฒนธรรมของตนที่มีอยู่แล้ว สืบทอดกันมาอย่างช้านาน เป็นการแสดงออกถึงความเข้ม แข็งของชุมชนอย่างแท้จริง 
     Keyword ความเชื่อ ชาวกูย หมู่บ้านและเรือนพื้นถิ่น 
Author
555200011-6 Mr. TANANON LAPO [Main Author]
Architecture Master's Degree

Reviewing Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Status ตีพิมพ์แล้ว 
Level of Publication ชาติ 
citation false 
Part of thesis true 
Attach file
Citation 0