ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การหาค่าน้ำหนักขององค์ประกอบที่มีผลต่อสภาพแวดล้อมของพื้นที่ในเมืองที่ส่งเสริมให้คนเดินเท้าในพื้นที่เขตเทศบาลนครอุดรธานี |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
5 มิถุนายน 2558 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการด้านการวางแผนภาคและเมืองประจำปี 2558 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต |
สถานที่จัดประชุม |
ณ ห้อง TCC Land Auditorium ชั้น 2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
จังหวัด/รัฐ |
ปทุมธานี |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
5 มิถุนายน 2558 |
ถึง |
5 มิถุนายน 2558 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
2558 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
152-166 |
Editors/edition/publisher |
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 |
บทคัดย่อ |
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่เพื่อส่งเสริมการเดิน ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอวิธีการให้ค่าน้ำหนักองค์ประกอบที่มีผลต่อการระบุ Walkability Zone ซึ่งหมายถึง พื้นที่ในเมืองที่มีสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้คนเดินเท้า องค์ประกอบที่นำมาให้ค่าน้ำหนักเป็นองค์ประกอบด้านกายภาพแบ่งออกเป็น 4 องค์ประกอบหลักและ 14 องค์ประกอบรอง องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ความปลอดภัย, การดึงดูด, ความสะดวก และการเข้าถึง ส่วนองค์ประกอบรอง ได้แก่ ความหนาแน่นของจำนวนทางข้าม, ความสว่างของพื้นที่, พื้นที่สวนสาธารณะ, พื้นที่เปิดโล่ง, ความสะอาดของทางเดิน, พื้นผิวของทางเดิน, ระดับการเชื่อมโยงโครงข่ายการสัญจร, ความกว้างของทางเดิน, อุปสรรคในการเดิน, ความหนาแน่นของโครงข่ายถนน, การใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน, สัดส่วนพื้นที่ใช้สอยอาคาร, จำนวนสายรถประจำทาง และ ความหนาแน่นของจุดจอดรับผู้โดยสาร ในการศึกษาการให้ค่าน้ำหนักเพื่อแสดงลำดับความสำคัญขององค์ประกอบใช้วิธีการตัดสินใจจากหลายผู้เชี่ยวชาญ หรือ Multi Criteria Decision Making (MCDM) การศึกษานี้จะเลือกใช้วิธีการกำหนดค่าน้ำหนักแบบกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ (Analysis Hierarchy Process; AHP) เพราะผลสำรวจที่ได้มีความน่าเชื่อถือและสามารถขจัดการตัดสินใจแบบมีอคติได้ทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล โดยใช้วิธีตอบแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิศวกรรมโยธาและการวางแผนภาคและเมือง รวมถึงภาคประชาชนที่มีความรู้เกี่ยวกับพื้นที่และประเด็นศึกษา รวมทั้งสิ้นจำนวน 15 คน |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|