ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การวัดประสิทธิภาพของห่วงโซ่อุปทานโดยการจัดการการขนส่งแบบมีส่วนร่วม:กรณีศึกษา |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
19 กุมภาพันธ์ 2559 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 38 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
สถานที่จัดประชุม |
ห้องสัมมนาเอกาทศรถ 301 อาคารเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
จังหวัด/รัฐ |
พิษณุโลก |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
19 กุมภาพันธ์ 2559 |
ถึง |
20 กุมภาพันธ์ 2559 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
38 |
Issue (เล่มที่) |
2.2 |
หน้าที่พิมพ์ |
773-778 |
Editors/edition/publisher |
The Graduate School, Naresuan University 99 Moo 9 Mahadhamraja Building, 1st Floor Naresuan University Tapho, Phitsanulok-Nakornsawan Rd., Phitsanulok, 65000 Phone: 0-5596-8820 to 8822 Fax: 0-5596-8826 Email: graduate@nu.ac.th, graduate.nu@gmail.com |
บทคัดย่อ |
การขนส่งแบบมีส่วนร่วม (Collaborative Transportation Management; CTM) ขึ้นอยู่กับการทา งานร่วมกันระหว่างค่คู ้าและ
ผ้ใู ห้บริการขนส่งของห่วงโซ่อุปทาน การประยุกต์ใช้ CTM ที่เหมาะสมสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการห่วงโซ่อุปทาน บทความนี้ได้
เสนอแนวคิดของ CTM ด้วยวิธีการจาลองสถานการณ์ 3 แบบจาลองได้แก่ 1) ไม่มีเงื่อนไขข้อจากัดเวลานาการขนส่งและไม่มี CTM
2) มีเง่อื นไขข้อจา กัดเวลานา การขนส่งและไม่มี CTM 3) มีเงื่อนไขข้อจา กัดเวลานา การขนส่งและมี CTM กรณีศึกษา ศูนย์กระจายสินค้า
บริษัทไทยเบฟเวอเรจจา กัด จังหวัดนครราชสีมา ตัวชี้วัดประสทิ ธิภาพของห่วงโซ่อุปทาน ได้แก่ ต้นทุนรวมห่วงโซ่อุปทานและระดับการ
ให้บริการกับลูกค้า ผลการจา ลองแสดงให้เห็นว่าการขนส่งด้วยวิธี CTM สามารถลดต้นทุนรวมของห่วงโซ่อุปทานและปรับปรงุ ระดับการ
บริการของผู้ให้บริการขนส่งให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
คาสาคัญ: การวัดประสิทธิภาพของห่วงโซ่อุปทาน การขนส่งแบบมีส่วนร่วม |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Poster |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|