2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title อิทธิพลของการรับรู้คุณภาพการบริการที่มีต่อการสื่อสารแบบปากต่อปากของโรงพยาบาลเอกชน THE INFLUENCE OF PERCEIVED SERVICE QUALITY ON WORDS OF MOUTH COMMUNICATION OF PRIVATE HOSPITA 
Date of Distribution 24 September 2016 
Conference
     Title of the Conference โครงการประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการ ระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2559 The National and International Conference on Business Management and Innovation 2016 (NICBMI 2016) 
     Organiser มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ประเทศไท 
     Conference Place ณ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     Province/State ขอนแก่น ประเทศไทย 
     Conference Date 24 September 2016 
     To 25 September 2016 
Proceeding Paper
     Volume 2559 
     Issue ISSN 2408-0861 
     Page 1369-1375 
     Editors/edition/publisher  
     Abstract การรับรู้คุณภาพการบริการ 5 มิติ คือ ด้านความเป็นรูปธรรม ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ด้านการให้ความมั่นใจและด้านการดูแลเอาใจใส่ [1] สามารถสร้างเอกลักษณ์เฉพาะให้กับโรงพยาบาล รวมถึงช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถแยกแยะความแตกต่างของคุณภาพการบริการโรงพยาบาลโดยความมุ่งหวังในการสร้างเอกลักษณ์ที่แตกต่าง การสื่อสารแบบปากต่อปากถือเป็นสิ่งที่สำคัญและจำเป็นที่โรงพยาบาลต้องพัฒนาให้เพิ่มมากขึ้นแก่ผู้ใช้บริการ เพื่อให้มีการใช้บริการมากขึ้น งานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาอิทธิพลการรับรู้คุณภาพการบริการ 5 มิติ [1] ที่มีต่อการสื่อสารแบบปากต่อปาก โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง คือผู้ใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย จำนวน 385 ราย โดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติ Multiple regression analysis โดย ผลการวิจัย พบว่า การสื่อสารแบบปากต่อปากได้รับอิทธิพลจากการรับรู้คุณภาพการบริการของโรงพยาบาล 3 มิติ คือด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ และด้านการให้ความมั่นใจ ผลการวิจัยนี้สามารถเป็นแนวทางให้นักการตลาดสามารถนำไปกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อแข่งขันในอุตสาหกรรมโรงพยาบาลต่อไป Five dimensions of perceived service quality: tangible, reliability, responsiveness, assurance, and empathy [1] can be beneficial in creating identity to hospitals and helping service users differentiate a hospital service quality from others. An attempt to create such identity, words of mouth communications is a key factor that needs to be built and developed among service users in order to build higher of use hospital services among patients or service users. This research aims to study the influence of five dimensions of perceived service quality [1] on words of mouth communications. By conducting a survey with 385 research participants in Thailand. The sample data were analyzed to descriptive statistics: frequency, percentage, mean, and standard deviation. The hypotheses were tested by Multiple regression analysis. This research has found that words of mouth communications, its influence with three dimensions of perceived service quality dimension: assurance, reliability, and responsiveness are identified. These results can serve as guidelines in designing marketing strategies so as to gain a competitive edge in health-care industry  
Author
575210083-7 Mr. THANUSET CHOKPIRIYAWAT [Main Author]
Business Administration and Accountancy Master's Degree

Peer Review Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Oral 
Part of thesis true 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 3