2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้สืบทอดในธุรกิจครอบครัวอย่างยั่งยืน 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 25 กันยายน 2559 
การประชุม
     ชื่อการประชุม งานประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการ ระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2559 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 24 กันยายน 2559 
     ถึง 25 กันยายน 2559 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 879-884 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การศึกษา เรื่อง การส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพการบริหารของผู้สืบทอดธุรกิจครอบครัว มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัย สำคัญที่จะทำให้เกิดการสืบทอดของธุรกิจครอบครัว รวมถึงความสำคัญเกี่ยวกับการสืบทอดธุรกิจครอบครัวของผู้สืบทอดธุรกิจ และแนวทางในการส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพการบริหารของผู้สืบทอดธุรกิจครอบครัว ประชากรที่ศึกษา คือ ทายาทของเจ้าของธุรกิจที่มีสิทธิ์ในการเป็นผู้สืบทอดธุรกิจครอบครัว หรือเป็นทายาทที่ได้รับความความคาดหวังให้เป็นผู้สืบทอดธุรกิจต่อจากบุคคลผู้มีอำนาจในการส่งต่อธุรกิจ ทั้งเพศชายและเพศหญิง อายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป จำนวน 400 คน โดยใช้สูตรการคำนวณหากลุ่มตัวอย่างกรณีไม่ทราบจำนวนประชากรที่แท้จริง WG. Cochran โดยกำหนดระดับค่าความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และระดับค่าความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 กัลยา วาณิชย์บัญชา (2549) จะเท่ากับ 384 คน ผลการศึกษาพบว่า 1. ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการสืบทอดของธุรกิจครอบครัว 3 อันดับการมีทัศนคติที่ดีต่อครอบครัว, การได้รับการสนับสนุน จากครอบครัวและการมีสุขภาวะที่ดีภายในธุรกิจครอบครัว, ปัจจัยด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถของผู้สืบทอดและความรู้ความเข้าใจในธุรกิจนั้นเป็นปัจจัยที่ผลต่อการตัดสินใจสืบทอดทั้งสิ้น 2. การตัดสินใจสืบทอดธุรกิจครอบครัวของผูสื้บทอดที่สำคัญที่สุด 3อันดับไดแ้ ก ่ การไดรั้บความคาดหวังจากพอ่ แม, เปน็ หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ และความรัก ความผูกพันกับธุรกิจครอบครัว มีผลต่อการตัดสินใจสืบทอดมากที่สุด 
ผู้เขียน
575740378-5 น.ส. ฝนทิพย์ บุญทนันท์ [ผู้เขียนหลัก]
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Abstract 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0

<
forum