2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ค่าการไหลแผ่ กำลังรับแรงอัด ความหนาแน่น และการนำความร้อนของจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ที่มีเศษยางรถยนต์เก่าเป็นส่วนผสม 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 28 มิถุนายน 2559 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย และวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 
     สถานที่จัดประชุม โรงแรม บีพี สมิหลา บีช สงขลา 
     จังหวัด/รัฐ สงขลา 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 28 มิถุนายน 2559 
     ถึง 30 มิถุนายน 2559 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2559 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 620-625 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาค่าการไหลแผ่ กำลังรับแรงอัด ความหนาแน่นและการนำความร้อนของจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ที่มีเถ้าลอยจีโอโพลิเมอร์เป็น วัสดุเชื่อมประสานและเศษยางรถยนต์เก่าเป็นมวลรวม ใช้สารละลายโซเดียมซิลิเกตและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เป็นสารละลายด่างกระตุ้น ปฏิกิริยา ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อสมบัติของจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ที่มีเศษยางรถยนต์เก่าเป็นส่วนผสม (CRGM) ได้แก่ อัตราส่วนของสารละลายด่างต่อ วัสดุประสานและความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เปรียบเทียบผลการทดสอบสมบัติต่างๆกับจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ที่มีทราย แม่น้ำเป็นส่วนผสม (CGM) จากการศึกษาพบว่าเศษยางรถยนต์เก่าและเถ้าลอยสามารถใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ได้ ซึ่งมีการ ไหลแผ่ของมอร์ต้าร์ 27-74%, ค่ากำลังรับแรงอัด 23-32 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร, ค่าความหนาแน่น 1067-1240 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร และค่าการนำความร้อน 0.237-0.298 วัตต์/เมตร เคลวิน ซึ่งต่ำกว่า CGM นอกจากนี้ยังพบว่าการเพิ่มขึ้นของอัตราส่วนสารละลายด่างต่อเถ้าลอย จะ ส่งผลให้ CRGM มีค่าการไหลแผ่เพิ่มขึ้น ในขณะที่กำลังรับแรงอัดและความหนาแน่นมีแนวโน้มลดลง สำ หรับการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของ สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์จะส่งผลให้ค่าการไหลแผ่และกำลังรับแรงอัดลดลง ในขณะที่ความหนาแน่นมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น 
ผู้เขียน
567040019-5 นาย อำพล วงศ์ษา [ผู้เขียนหลัก]
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0