ชื่อบทความ |
ผลของรูปแบบการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ต่อการส่งเสริมการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยวิกฤต (การศึกษานำร่อง) |
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ |
14 มิถุนายน 2561 |
วารสาร |
ชื่อวารสาร |
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ |
มาตรฐานของวารสาร |
|
หน่วยงานเจ้าของวารสาร |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
ISBN/ISSN |
|
ปีที่ |
41 |
ฉบับที่ |
1 |
เดือน |
มกราคม- มีนาคม |
ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ |
2561 |
หน้า |
|
บทคัดย่อ |
การศึกษานำร่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลลัพธ์ของรูปแบบการพยาบาลตามหลักฐาน
เชิงประจักษ์ต่อการส่งเสริมการเคลื่อนไหวในผู้ป่วยวิกฤต ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยใช้รูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลของ
Soukup (2000) เป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนาและนำไปทดลองใช้กับผู้ป่วยวิกฤต จำนวน 8 ราย การศึกษานี้
วัดระดับการเคลื่อนไหวของร่างกายจากเครื่องมือ ICUMobilityScale และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อจากเครื่องมือ
Medical Research Council ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยก่อนและหลังทำกิจกรรมการส่งเสริมการเคลื่อนไหวผู้ป่วย
มีระดับของระดับการเคลื่อนไหวเปลี่ยนจาก 0 เป็น 4.75 และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเปลี่ยนจาก 3.75 เป็น
4.12 สรุปผู้ป่วยมีระดับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น และผู้ป่วยวิกฤตปลอดภัย
ไม่มีเหตุการณ์อันไม่พึงประสงค์ในระหว่างทำกิจกรรม
|
คำสำคัญ |
การเคลื่อนไหวในผู้ป่วยวิกฤต การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ |
มีผู้ประเมินอิสระ |
สถานภาพการเผยแพร่ |
ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ |
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
citation |
ไม่มี |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ใช้สำหรับสำเร็จการศึกษา |
ไม่เป็น |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|