ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนเปิดลานรับซื้ออ้อยทองพิบูลจากเกษตรกรชาวไร่อ้อยรายย่อย
ตาบลบ้านตาด อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
22 กันยายน 2561 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการทางะุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการระดับชาติ ประจำปี 2561 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
สถานที่จัดประชุม |
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
จังหวัด/รัฐ |
ขอนแก่น |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
22 กันยายน 2561 |
ถึง |
23 กันยายน 2561 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
2561 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
923-928 |
Editors/edition/publisher |
5 |
บทคัดย่อ |
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนเปิดลานรับซื้ออ้อยทองพิบูลจากเกษตรกร
ชาวไร่อ้อยรายย่อย ตาบลบ้านตาด อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี วิธีการศึกษาใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่ม
ตัวอย่างจานวน 400 คน 1) ด้านการตลาด พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลข่าวสารเรื่องราคาและแหล่งรับ
ซื้ออ้อยจากครอบครัวและญาติพี่น้อง และมีปัจจัยในการตัดสินใจประกอบอาชีพไร่อ้อยเนื่องจากรายได้ดีแต่มีเงินทุนหมุนเวียน
ไม่เพียงพอ จึงไม่สามารถขนส่งอ้อยเข้าโรงงานด้วยตนเอง มีการขายอ้อยให้ผู้รับซื้อแบบขายเหมายกแปลง รองลงมาคือขายที่
ลานรับซื้ออ้อยเอกชน เหตุผลหลักที่ตัดสินใจขายอ้อยให้กับผู้รับซื้อคือการซื้อขายง่ายไม่ยุ่งยาก และมีการตัดสินใจจาก
คาแนะนาของผู้มีประสบการณ์ และทาการตัดสินใจด้วยตนเองในการขายอ้อย ปัจจัยที่มีผลต่อการขายอ้อยมากที่สุดในแต่ละ
ด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์คือการนัดรับเงินตามเวลาที่กาหนด ด้านราคา คือการจ่ายเงินสด ด้านช่องทางจัดจาหน่าย คือติดต่อซื้อ
ขายอ้อยได้สะดวกและใกล้พื้นที่เพาะปลูก ด้านการส่งเสริมการตลาด คือการส่งเสริมพันธุ์อ้อย 2) ด้านการจัดการ มีการจัด
องค์กรและพนักงานที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานในตาแหน่งต่างๆและปฏิบัติงานได้อย่างรวดเร็ว 3) ด้านเทคนิค
มีการวิเคราะห์ทาเลที่ตั้งสรุปได้ว่า บ้านกกสะทอน ตาบลบ้านตาด อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เป็นทาเลที่เหมาะสมที่สุด
สาหรับเปิดลานรับซื้ออ้อย เพราะมีถนนสายหลักตัดผ่าน การเดินทางขนส่งอ้อยสะดวก และ 4) ด้านการเงิน โครงการที่
ทาการศึกษาในครั้งนี้ใช้เงินลงทุนไปทั้งสิ้น 6,000,000 บาท มีมูลค่าสุทธิอยู่ที่ 907,125.46 บาท อัตราผลตอบแทนภายในของ
โครงการ เท่ากับ 6.91% และมีระยะเวลาคืนทุนอยู่ที่ 4 ปี 2 เดือน 15 วัน จากการวิเคราะห์ทั้ง 4 ด้าน จึงสรุปได้ว่าการลงทุน
เปิดลานรับซื้ออ้อยทองพิบูล จากเกษตรกรชาวไร้อ้อยรายย่อย ตาบลบ้านตาด อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี มีความเป็นไปได้ |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ใช้สำหรับสำเร็จการศึกษา |
ไม่เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|