ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
ผลของความสูงท่อรีฟลักซ์ต่อปริมาณผลได้ของน้ำมันชีวภาพจากไพโรไลซิสกากยางเนียวของน้ำมันยางนา |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
10 พฤษภาคม 2561 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย ระดับชาติ ครั้งที่ 19 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
สมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทย (Thai Society of Agricultural Engineering) ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
สถานที่จัดประชุม |
ศูนย์ประชุมนานาชาติจุฬาภรณ์ และวรวนา คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันต์ |
จังหวัด/รัฐ |
ประจวบคีรีขันต์ |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
26 เมษายน 2561 |
ถึง |
27 เมษายน 2561 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
2561 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
216-219 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความสูงท่อรีฟลักซ์ต่อปริมาณผลได้ของน้ำมันชีวภาพจากการแปรสภาพยางเหนียว
ของน้ำมันยางนาด้วยวิธีไพโรไลซิส ในการไพโรไลซิสนี้ใช้เครื่องปฏิกรณ์ไฟฟ้า และท่อรีฟลักซ์ซึ่งทำจากท่อสเตนเลส ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 1 นิ้ว สูง 0.9, 1.4, 1.9 และ 2.4 m ในการทดลอง โดยการนำยางเหนียวจากน้ำมันยางนาไปผ่านกระบวนการไพโรไลซิสที่
ช่วงอุณหภูมิ 490-500 °C ยางเหนียวถูกเผาไหม้ในสภาวะไร้ออกซิเจนภายในเตาปฏิกรณ์ กลายเป็นแก๊สไหลไปที่ชุดท่อรีฟลักซ์และ
ควบแน่นกลายเป็นน้ำมันไพโรไสซิส น้ำมันไพโรไลซิสที่ได้นำไปกลั่นที่ช่วงอุณหภูมิ 40-350 °C ผลการทดสอบพบว่าที่ท่อรีฟลักซ์ความ
สูง 1.9 m ได้น้ำมันชีวภาพสูงที่สุด 44.27 %wt ที่เหลือคือผลิตภัณฑ์แก๊ส 35.97 %wt และกากตะกอน 19.76 %wt ในส่วนของ
น้ำมันชีวภาพคิดเป็นน้ำมันเบา(ช่วงอุณหภูมิกลั่น 40-200 °C) และน้ำมันหนัก(ช่วงอุณหภูมิกลั่น 200-350 °C) 32.79 และ 67.21
%wt ของน้ำมันชีวภาพ ตามลำดับ |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|