ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
ผลของสนามไฟฟ้าแรงสูงและเทคนิคตัวนำควบต่อการตกตะกอนกลีเซอรีนในกระบวนการผลิตไบโอดีเซล |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
22 พฤษภาคม 2562 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงาน แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี |
สถานที่จัดประชุม |
เดอะ กรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ |
จังหวัด/รัฐ |
นครราชสีมา |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
21 พฤษภาคม 2562 |
ถึง |
24 พฤษภาคม 2562 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
15 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
475-480 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
งานวิจัยนี้ศึกษาการใช้สนามไฟฟ้าเพื่อเร่งการจับตัวและตกตะกอนของกลีเซอรีนในกระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันโดยการใช้อิเล็กโทรดแบบทรงกระบอกซ้อนแกนร่วมประยุกต์ใช้กับเทคนิคตัวนำควบ เพื่อเพิ่มความเครียดสนามไฟฟ้า โดยเปรียบเทียบระยะเวลาและพลังงานที่ใช้ในตกตะกอน ต่อการเพิ่มจำนวนอิเล็กโทรดตั้งแต่ 1-5 แท่ง โดยมีสารตั้งต้นคือน้ำมันปาล์มและเมทิลแอลกอฮอล์ด้วยอัตราส่วนโมเลกุล 1:6 ทำการทดลองโดยจ่ายไฟฟ้าแรงสูง 10 และ 15 กิโลโวลต์ เป็นเวลา 30 นาที พบว่าการใช้ระดับแรงดันที่สูงขึ้นและการเพิ่มจำนวนอิเล็กโทรดภายใน เป็นการเพิ่มความเครียดสนามไฟฟ้าภายในชุดทดลอง ความเครียดสนามไฟฟ้าที่สูงขึ้น ส่งผลให้พลังงานที่ใช้สูงขึ้น การใช้อิเล็กโทรดจำนวน 5 แท่ง ที่ระดับแรงดัน 15 กิโลโวลต์ สามารถเร่งให้กลีเซอรีนตกตะกอนรวดเร็วที่สุด โดยใช้เวลา 10 นาที ซึ่งใช้เวลาสั้นกว่าการใช้อิเล็กโทรด 1 แท่ง เป็นจำนวน 2.8 เท่า โดยใช้พลังงานมากกว่าเพียง 1.05 เท่า |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|