2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ ลักษณะการเดินของผู้ที่มีสุขภาพดีขณะเดินบนพื้นแข็งและพื้น นุ่มที่มีระดับความหนาระดับต่างๆ 
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 1 พฤษภาคม 2560 
วารสาร
     ชื่อวารสาร วารสารกายภาพบำบัด 
     มาตรฐานของวารสาร TCI 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร สมาคมกายภาพบำบัดแห่งประเทศไทย 
     ISBN/ISSN  
     ปีที่ 39 
     ฉบับที่
     เดือน พฤษภาคม-สิงหาคม
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2560 
     หน้า 77-83 
     บทคัดย่อ ที่มาและความสำคัญ: พื้นนุ่มส่งผลให้เกิดความไม่ มั่นคงซึ่งท้าทายความสามารถด้านการเดินแต่ปัจจุบัน ยังไม่มีรายงานผลของพื้นุ่มและระดับความหนาที่ ส่งผลต่อลักษณะการเดิน วัตถุประสงค์: เพื่ อศึกษ าลักษ ณ ะการเดิน ของ อาสาสมัครสุขภาพดีจ านวน 16 คนขณะเดินบนพื้นนุ่ม หนา 1 นิ้วและหนา 3 นิ้ว เปรียบเทียบการเดินบนพื้น เรียบแข็ง วิธีการ:อาสาสมัคร (อายุเฉลี่ย26±2.85 ปี) ได้รับการ ประเมินความเร็วในการเดิน ความถี่การก้าวขา ความ ยาวรอบการเดิน และความสมมาตรของระยะก้าว ขณะ เดินบนพื้นแต่ละแบบด้วยความเร็วปกติและความเร็ว สูงสุด อย่างละ 3 รอบ ผู้วิจัยบันทึกภาพการเดินของ อาสาสมัครเพื่อวิเคราะห์การเคลื่อนไหวแบบ 2 มิติโดย ใช้โปรแกรม Kinovea ใช้สถิติ ANOVA with repeated measure เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของตัวแปรขณะเดิน บนพื้นแต่ละแบบ ก าหนดระดับนัยส าคัญที่ p<0.05 ผลการศึกษา: เมื่อเดินบนพื้นนุ่มอาสาสมัครเดินและ ก้ าวขาช้าลงกว่าการเดินบนพื้นเรียบแข็งอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติทั้งเมื่อเดินด้วยความเร็วปกติและ ความเร็วสูงสุด (ความเร็วในการเดิน = 1.12-1.35 เมตร/ วินาที และ 1.34-1.74 เมตร/วินาทีความถี่การก้าวขา = 96-110ก้าว/นาที และ 120-139 ก้าว/นาที เมื่อเดินบน พื้นนุ่มและพื้นเรียบแข็งด้วยความเร็วปกติและความเร็ว สูงสุดตามล าดับ p<0.05) แต่ไม่พบความแตกต่างของ ตัวแปรอื่นรวมถึงไม่พบความแตกต่างระหว่างการเดิน บนพื้นนุ่มหนา 1 นิ้วและหนา 3 นิ้ว (p>0.05) สรุปการศึกษา: พื้นนนุ่มท้าทายความสามารถด้านการ เดินโดยเฉพาะในตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับเวลา โดยการ ประยุกต์ใช้ ทางคลินิกอาจเลือกใช้ พื้นนุ่มหนา 1 นิ้ว เนื่องจากมีน น้ำหนักเบา ราคาถูก จัดเก็บง่าย และขนย้าย ได้สะดวกกว่าพื้นนุ่มหนา 3 นิ้ว อย่างไรก็ตาม ข้อมูลที่ ได้เป็นการศึกษาเบื้องต้นในอาสาสมัครสุขภาพดี ดังนั้น ก ารศึ ก ษ าใน อ น าค ต ค วรเป รี ย บ เที ย บ ข้ อ มูลใน อาสาสมัครที่มีความบกพร่องทางการเคลื่อนไหวเพื่อ ยืนยันการประยุกต์ใช้พื้นนุ่มในการฟื้นฟูความสามารถ ทางคลินิกได้ดียิ่งขึ้น 
     คำสำคัญ Walking, Rehabilitation, Assessment, Physical therapy, Balance control 
ผู้เขียน
577090013-8 น.ส. ดลยา พรหมแก้ว [ผู้เขียนหลัก]
คณะเทคนิคการแพทย์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ตีพิมพ์แล้ว 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation ไม่มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
แนบไฟล์
Citation 0