ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
พญานาค: พัฒนาการความเชื่อในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดมุกดาหาร |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
28 พฤษภาคม 2562 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
สถานที่จัดประชุม |
โรงแรมเอส ดี อเวนิว ปิ่นเกล้า |
จังหวัด/รัฐ |
กรุงเทพมหานคร |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
28 พฤษภาคม 2562 |
ถึง |
28 พฤษภาคม 2562 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
18 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
725-738 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการความเชื่อพญานาคในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดมุกดาหาร โดยวิเคราะห์ผ่านแนวคิดความเชื่อ (Beliefs) ใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้รู้ในชุมชน อาทิ ผู้นำชุมชน ผู้ดูแลสถานที่ พระ จำนวน 15 คน ร่วมกับการสังเคราะห์เอกสารทุติยภูมิ วิเคราะห์ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ความเชื่อพญานาคในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดมุกดาหาร ปรากฏให้เห็น 4 ระยะ คือ ระยะที่ 1 “ความเชื่อพญานาคในพระพุทธศาสนา” ระยะที่ 2 “ปลุกความเชื่อจากการหลับใหล” ระยะที่ 3 “ตีดาบเมื่อยังร้อน” และระยะที่ 4 “เก็บเกี่ยวผลประโยชน์” |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ได้รับรางวัล |
ชื่อรางวัล |
บทความดีเด่น |
ประเภทรางวัล |
รางวัลด้านวิชาการ วิชาชีพ |
หน่วยงาน/องค์กรที่มอบรางวัล |
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ |
วัน/เดือน/ปี ทีด้รับรางวัล |
28 พฤษภาคม 2562 |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|