2012 ©
             Publication
Journal Publication
Title of Article ผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาทัศนศิลป์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับทาง 
Date of Acceptance 24 December 2019 
Journal
     Title of Journal วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 
     Standard TCI 
     Institute of Journal บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 
     ISBN/ISSN 1686-0632 
     Volume 17 
     Issue 79 
     Month ตุลาคม-ธันวาคม
     Year of Publication 2020 
     Page  
     Abstract ผู้วิจัยมีวตัถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลของการจดัการเรียนรู้รายวิชาทัศนศิลป์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับทาง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท ี่ 5 ให้นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยไมต่่ำกว่าร้อยละ 80 และมีจำนวน นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ขึ้นไป และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรยีนรู้รายวิชาทัศนศลิป์ โดยใช้การ จัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับทาง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจยัเชิงทดลองเบื้องต้น โดยทำการศึกษา กับกลุ่มเป้าหมายหนึ่งกลุ่ม ซึ่งเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนชัยภูมภิักดีชุมพล ภาคเรียนท ี่2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 30 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรยีนรู้ที่ใช้รูปแบบการเรยีนรู้แบบโครงงานเป็น ฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลบัทาง จำนวน 10 แผน เวลา 15 ชั่วโมง 2) สื่อประกอบการจัดการเรยีนรู้ตามแนวคดิห้องเรียนกลับทาง 3) แบบประเมินผลงาน 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน และ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจ ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าสถิติพื้นฐาน คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบยี่งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลของการจดัการเรียนรู้รายวิชาทัศนศลิป์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับแนวคดิ ห้องเรียนกลับทาง จากจำนวนนักเรียนจำนวน 30 คน พบว่ามีคะแนนเฉลี่ย 3.61 คิดเป็นร้อยละ 90.25 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เท่ากับ 0.11 และมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 28 คน คิดเป็นร้อยละ 93.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่มตี่อการจดัการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับแนวคดิห้องเรียนกลับทาง พบว่าความ พึงพอใจด้านที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนสงูสุดคือ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ มคี่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.73 ค่า S.D.=0.44 รองลงมาคือด้านกิจกรรมการ เรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.70 ค่า S.D.=0.46 และด้านบรรยากาศ มคี่าเฉลี่ย 4.53 ค่า S.D.=0.50 ตามลำดับและความพึงพอใจโดยรวม มีค่าเฉลยี่เท่ากับ 4.65 ซึ่งอยู่ในระดับคุณภาพมากที่สดุ  
     Keyword การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน, แนวคิดห้องเรียนกลับทาง 
Author
605050012-3 Mr. MONTANAT BUNPLUK [Main Author]
Education Master's Degree

Reviewing Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Status ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ 
Level of Publication ชาติ 
citation true 
Part of thesis true 
Attach file
Citation 0