2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงวัฒนธรรมของโรงเรียนขนาดเล็ก 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 7 กุมภาพันธ์ 2563 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมสัมมนาทางวิชาการ การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและงานบริหารสัมพันธ์ 2563 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม สมาคมพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาแห่งประเทศไทย  
     สถานที่จัดประชุม โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว 
     จังหวัด/รัฐ เชียงใหม่  
     ช่วงวันที่จัดประชุม 7 กุมภาพันธ์ 2563 
     ถึง 7 กุมภาพันธ์ 2563 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 165-176 
     Editors/edition/publisher รศ.ดร จิณณวัตร ปะโคทัง 
     บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของภาวะผู้นำเชิงวัฒนธรรมของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย ดำเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงวัฒนธรรม จำนวน 9 เรื่อง เพื่อสังเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงวัฒนธรรมของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก จากแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และ 2) ยืนยันองค์ประกอบของภาวะผู้นำเชิงวัฒนธรรมของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก ตามกรอบที่ได้สังเคราะห์จากเอกสารโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำเชิงวัฒนธรรมของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การส่งเสริมบรรยากาศแห่งการเรียนรู้มี 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ ลักษณะแวดล้อมแห่งการเรียน มาตรฐานการปฏิบัติงาน พันธทางสังคม และสภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ 2) การสร้างวัฒนธรรมเชิงบวกมี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ ปฏิสัมพันธ์ร่วม ความเห็นอกเห็นใจ และสร้างขวัญและกำลังใจ 3) วิสัยทัศน์ร่วมเชิงวัฒนธรรมมี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การกำหนดวิสัยทัศน์ การแสดงวิสัยทัศน์เชิงวัฒนธรรม และ วิสัยทัศน์ที่ชัดเจน 4) การจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรม มี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การกระตุ้นบุคลากรสร้างวัฒนธรรมที่ดีงาม การเสริมสร้างวัฒนธรรมที่ดีงาม และการเป็นผู้นำทางวัฒนธรรม 5) การนำตนเองในการเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมมี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ การเปิดโอกาสการเรียนรู้เชิงวัฒนธรรม การเผชิญปัญหาเชิงวัฒนธรรม และการยอมรับการเปลี่ยนแปลง  
ผู้เขียน
615050045-9 นาย ชัยบรรจง โสกชาตรี [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0