ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
ผลการออกกำลังกายกล้ามเนื้อลำตัวต่อการเดินในนักเรียนที่มีภาวะอ้วน: การศึกษานำร่อง
The effect of trunk muscle exercise on walking ability
in obese students: A pilot study
|
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
23 พฤษภาคม 2563 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและสังคม |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
วิทยาลัยนครราชสีมา |
สถานที่จัดประชุม |
วิทยาลัยนครรารชสีมา |
จังหวัด/รัฐ |
นครราชสีมา |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
23 พฤษภาคม 2563 |
ถึง |
23 พฤษภาคม 2563 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
7 |
Issue (เล่มที่) |
7 |
หน้าที่พิมพ์ |
1192-1200 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกกล้ามเนื้อลำตัวที่มีต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและความเร็วในการเดินในผู้ที่มีภาวะอ้วน กลุ่มตัวที่ใช้ในการวิจัย คือ อาสาสมัครเพศหญิงที่มีภาวะอ้วนโดยพิจารณาจากอายุระหว่าง 16 - 18 ปี ที่มีสุขภาพแข็งแรง จำนวน 10 คน สุ่มอาสาสมัครเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มออกกำลังกายและกลุ่มควบคุม กลุ่มออกกำลังกายได้รับการฝึกออกกำลังกายกล้ามเนื้อลำตัว จำนวน 3 ท่า ประกอบด้วย ท่า prone bridge ท่า side bridge และ ท่า bird dog ความถี่ 3 ครั้ง/สัปดาห์ เป็นเวลา 8 สัปดาห์ ขณะที่อาสาสมัครในกลุ่มควบคุมไม่ได้รับการออกกำลังกายและดำเนินชีวิตตามปกติ ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลำตัวและความเร็วในการเดินในสัปดาห์ที่ 0 และสัปดาห์ที่ 8 ผลการวิจัยพบว่าหลังการฝึกออกกำลังกายกล้ามเนื้อลำตัว 8 สัปดาห์ กลุ่มออกกำลังกายมีความแข็งแรงกล้ามเนื้อลำตัวเพิ่มขึ้นโดยแสดงจากจำนวนครั้งในการทดสอบงอตัวที่เพิ่มขึ้น รวมถึงมีความเร็วในการเดินเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม ดังนั้นการออกกำลังกายกล้ามเนื้อแกนกลางอาจพิจารณาเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการเพิ่มสมรรถภาพกล้ามเนื้อลำตัวและสมรรถภาพทางกายในวัยรุ่นที่มีภาวะอ้วนได้ |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Poster |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|