ชื่อบทความ |
การพัฒนาเครื่องมือประเมินภาวะหายใจลำบากสำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง |
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ |
8 มิถุนายน 2563 |
วารสาร |
ชื่อวารสาร |
วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ |
มาตรฐานของวารสาร |
TCI |
หน่วยงานเจ้าของวารสาร |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
ISBN/ISSN |
0125 7021 |
ปีที่ |
43 |
ฉบับที่ |
2 |
เดือน |
เมษายน-มิถุนายน |
ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ |
2563 |
หน้า |
|
บทคัดย่อ |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือประเมินภาวะหายใจลำบาก
ในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองกลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะหายใจลำบากการดำเนินการแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ 1) กำหนดและสร้างข้อคำถาม 2)ตรวจสอบคุณภาพ และ 3) ปรับปรุงและทดสอบใช้งานวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและสถิติเชิงบรรยายได้เครื่องมือ 3 ชุด ได้แก่ 1) แบบประเมินความเสี่ยง 2)
แบบประเมินภาวะหายใจลำบาก 3)แบบประเมินในผู้ป่วยที่ไม่สามารถสื่อสารได้ และคู่มือการใช้เครื่องมือเครื่องมือทั้ง 3 ชุดมีความตรงเชิงเนื้อหาระดับ ”ยอมรับ” (SCVI: 0.96,1, 0.98 และ ICVI: 0.8-1, 1, 0.8-1 ตามลำดับ) ความเชื่อมั่นระดับ“ยอมรับ - ยอดเยี่ยม” (α Cronbach : 0.76, 0.90, 0.88 ตามลำดับ)การใช้งานระดับ “ยอมรับ” (UI : 0.91, 0.85, 0.94 ตามลำดับ)และความสอดคล้องระดับ “ยอมรับ-แข็งแรงมาก” (CD : 0.38-0.8, p <.05) |
คำสำคัญ |
ภาวะหายใจลำบาก ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง เครื่องมือประเมินภาวะหายใจลำบาก |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ |
มีผู้ประเมินอิสระ |
สถานภาพการเผยแพร่ |
ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ |
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
citation |
ไม่มี |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|