2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ความเชื่อเกี่ยวกับประสิทธิภาพของตนเองของนักเรียนในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ที่ใช้การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 12 กรกฎาคม 2563 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 "วิจัยและนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์สู่ชุมชนเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน" 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 
     สถานที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ  
     จังหวัด/รัฐ KHON KAEN 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 12 กรกฎาคม 2563 
     ถึง 12 กรกฎาคม 2563 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2020 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 109-118 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ สำรวจความเชื่อเกี่ยวกับประสิทธิภาพของตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในชั้นเรียนที่ใช้การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 8 คน ซึ่งกลุ่มเป้าหมายได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการแบบเปิดตามแนวคิด Inprasitha (2011) โดยผู้เรียน ได้เรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียน ลงมือทำกิจกรรมจากสถานการณ์ปัญหา พร้อมทั้งนำเสนอแนวคิดของตนเองในชั้นเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และภาพนิ่งในชั้นเรียน ตามกรอบแนวคิดของ Peter Op't Eynde and Erik De Corte (2003) ผลการวิจัย พบว่า หลังจากการนำวิธีการแบบเปิดเข้าไปใช้ในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ ความเชื่อเกี่ยวกับประสิทธิภาพของตนเองของนักเรียนอยู่ในระดับมาก สามารถอธิบายรายข้อย่อยได้ดังนี้ ความเชื่อว่าฉันสามารถเข้าใจเนื้อหาคณิตศาสตร์ที่มีความซับซ้อนได้ ความเชื่อว่าฉันสามารถแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ได้อย่างรวดเร็ว ความเชื่อว่าเมื่อเทียบกับเพื่อนคนอื่นๆแล้วฉันคิดว่าฉันเก่งคณิตศาสตร์ ความเชื่อว่าเมื่อคำนึงถึงทักษะความรู้ของฉัน ฉันมั่นใจว่าฉันสามารถทำคะแนนได้ดีในวิชาคณิตศาสตร์ และความเชื่อว่าฉันต้องใช้ความคิดอย่างมากในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ทั้งหมดนี้อยู่ในระดับมาก 
ผู้เขียน
605050030-1 น.ส. ธัญลักษณ์ ศิริวุฒิ [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0