2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ แนวทางในการแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานตัดอ้อยของผู้ประกอบการไร่อ้อย ในพื้นที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 3 ตุลาคม 2563 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการทางธุรกิจและนวัตกรรมทางการจัดการระดับชาติ ประจำปี 2563 The 7th National Conference on Business Management and Innovation 2020 "Business Transformation" 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 3 ตุลาคม 2563 
     ถึง 3 ตุลาคม 2563 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) (ปีที่7) พ.ศ. 2563 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 201-206 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีจุดม่งหมายเพื่อศึกษากระบวนการจัดการแรงงาน สภาพปัญหาการขาดแคลนแรงงาน และเพื่อ น้าเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานของผู้ประกอบการไร่อ้อย ในพื้นที่อ้าเภอน้้าพอง จังหวัดขอนแก่น การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีวิทยา “ปรากฏการณ์วิทยา” เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก พร้อมกับการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมและการจดบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้ประกอบการไร่อ้อยจ้านวน 10 ราย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีพรรณนาวิเคราะห์เพื่อน้ามาเป็นพื้นฐานในการวิจัย ผลที่ได้จาก การศึกษาพบว่า ปัญหาแรงงานของผู้ประกอบการไร่อ้อยในพื้นที่อ้าเภอน้้าพอง จังหวัดขอนแก่นคือแรงงานเก็บเกี่ยวอ้อยใน พื้นที่ลดลง ส่งผลให้ผู้ประกอบการไร่อ้อยต้องติดต่อจ้างแรงงานจากนอกพื้นที่ ผู้ประกอบการต้องมีการจ่ายเงินมัดจ้าล่วงหน้า ให้แรงงานก่อนเป็นปีโดยไม่คิดดอกเบี้ย แต่เมื่อถึงฤดูกาลเก็บเกี่ยวคนงานไม่มาท้าตามสัญญา การแก้ไขปัญหาของ ผู้ประกอบการจึงเป็นการเลือกหาวิธีมาทดแทนคือ การจ้างรถตัดอ้อยของผู้ประกอบการไร่อ้อยด้วยกันแทนการใช้แรงงานคน หรืออาจใช้แรงงานคนและรถตัดอ้อยควบคู่กันไป ถึงแม้ว่าการใช้รถตัดอ้อยจะมีค่าใช้จ่ายและได้ผลผลิตอ้อยลดลง แต่ ผู้ประกอบการยอมรับได้เพราะจะได้ไม่ต้องประสบกับปัญหาการขาดแรงงานเก็บเกี่ยวอ้อยอีกต่อไป 
ผู้เขียน
615740029-4 น.ส. อภิญญา พรมเลา [ผู้เขียนหลัก]
วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0