2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ ยุทธศาสตร์การดำรงชีพของวิถีประมงชุมชนในลุ่มน้ำมูลตอนกลางหลังการสร้างเขื่อนราษีไศล,Livelihood Strategies for Community Fisheries in the Central Mun River Basin after the construction of the Rasi Salai Dam 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 24 เมษายน 2564 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและระดับนานาชาติ 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยปทุมธานี 
     สถานที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยปทุมธานี 
     จังหวัด/รัฐ ปทุมธานี 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 24 เมษายน 2564 
     ถึง 24 เมษายน 2564 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) เมษายน 2564 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 88-95 
     Editors/edition/publisher รศ.ดร.จิราภรณ์ ขันทอง และคณะ/ฉบับตีพิมพ์ครั้งที่ 1/มหาวิทยาลัยปทุมธานี 
     บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษายุทธศาสตร์การด้ารงชีพของวิถีประมงชุมชนในลุ่มน้้ามูล ตอนกลางหลังจากการสร้างเขื่อนราษีไศล โดยใช้กระบวนการการวิจัยเชิงคุณภาพและใช้แนวคิดการด้ารงชีพ (Livelihood) เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษาและการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ผู้คนในลุ่มน้้ามูล ตอนกลางก่อนมีการสร้างเขื่อนราษีไศลมีวิถีการด้ารงชีพที่ใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศบุ่งทามของแม่น้้ามูล ตอนกลาง ภายหลังจากการสร้างเขื่อนเกิดพื้นที่น้้าท่วมขังขนาดใหญ่และส่งผลต่อวิถีการด้ารงชีพถูกลดทอน ทางเลือกไป ผู้คนจ้าเป็นต้องปรับตัวสร้างทางเลือกในการท้าประมงเพื่อให้อยู่กับสภาพแวดล้อมแบบใหม่ โดย การใช้ทุนในการด้ารงชีพที่ยังเหลือในการสร้างยุทธศาสตร์การด้ารงชีพมีดังนี้ 1.การพัฒนาเครื่องมือรูปแบบ ประมงหลังการสร้างเขื่อน 2.การสร้างกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับวิถีประมงชุมชน 3.การสร้าง ยุทธศาสตร์ร่วมของวิถีประมงชุมชน และ4.กิจกรรมการด้ารงชีพอื่นๆที่ควบคู่กับวิถีประมงชุมชน ค้าส้าคัญ : ยุทธศาสตร์การด้ารงชีพ วิถีประมงชุมชน ลุ่มน้้ามูลตอนกลาง This research aimed to study the livelihood strategies of community fisheries in the middle Mun River basin after the construction of the Rasi Salai Dam. By using the qualitative research process and the concept of living (Livelihood) as a conceptual framework for the study and data analysis. The results of the study showed that People in the middle Mun River Basin before the Rasi Salai Dam were built had various livelihoods in the Bung Tham River area. After the construction of the dam, a large flooded area of floods and livelihoods was reduced. People need to adapt to make fishing alternatives to the new environment. By using the remaining living capital to create a living strategy is as follows: 1. Development of fisheries tools after the construction of the dam 2. Creation of economic activities related to community fisheries livelihoods 3. Creating a Joint Strategy for Community Fisheries Way And 4. livelihood activities in conjunction with the community fishing way. Keywords : Livelihood strategy, Fishing trajectory, Middle Moon River Basin 
ผู้เขียน
595080056-4 นาย นวรัตต์ เสียงสนั่น [ผู้เขียนหลัก]
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0