2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ สภาวะช่องปากของผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานปัญญาบกพร่อง 
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 11 พฤษภาคม 2564 
วารสาร
     ชื่อวารสาร วิทยาสารทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     มาตรฐานของวารสาร TCI 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     ISBN/ISSN  
     ปีที่ 24 
     ฉบับที่ 2 หรือ 3 
     เดือน พฤษภาคม-สิงหาคม หรือ กันยายน - ธันวาคม
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2564 
     หน้า  
     บทคัดย่อ ื่อเรื่อง (ภาษาไทย) : สภาวะช่องปากของผู้สูงอายุทมี่ ีภาวะปริชานปัญญาบกพร่อง ชื่อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) : Oral Health Status of Elderly with Cognitive Impairment สภาวะช่องปากของผู้สูงอายุทมี่ ีภาวะปริชานปัญญาบกพร่อง บทคัดย่อ เมื่อเขา้สู่วยัสูงอายุร่างกายจะมีความเสื่อมของสมรรถนะในหลายระบบรวมถึงระบบสมองนา ไปสู่ การมีภาวะปริชานปัญญาบกพร่อง ที่ผา่ นมามีการศึกษาในหลายประเทศพบวา่ มีความสัมพนัธ์กนัของสภาวะ ช่องปากกบั ภาวะปริชานปัญญาบกพร่อง โดยผู้สูงอายุที่มีภาวะปริชานปัญญาบกพร่องจะมีสภาวะช่องปาก แยก่ วา่ ผทู้ี่ไม่มีภาวะดงักล่าว การศึกษาน้ีเป็นการศึกษาแบบตดัขวาง มีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาสภาวะช่อง ปากของผสูู้งอายทุ ี่มีภาวะปริชานปัญญาบกพร่อง กลุ่มตวัอยา่ งเป็นผูท้ี่มีอายุต้งัแต่60 ปีข้ึนไป ที่อาศยัอยูใ่ น อา เภอบา้นฝาง จงัหวดัขอนแก่น และผ่านการคดักรองภาวะปริชานปัญญาบกพร่อง โดยใช้แบบทดสอบ สภาพสมองเบ้ืองตน้และแบบประเมินภาวะพุทธิปัญญาฉบับภาษาไทย เก็บขอ้ มูลจากแบบสอบถามและการ ตรวจสภาวะช่องปาก การตรวจประกอบด้วย ความลึกร่องปริทนั ต์คราบจุลินทรีย์ ระดับการยึดเกาะทาง คลินิกของเน้ือเยื่อปริทนั ต์ สภาวะฟันผุและรูปแบบการสูญเสียฟันตามดัชนีของอิชเนอร์ ผลการศึกษา มี ผูสู้งอายุยินยอมเขา้ร่วมการศึกษา 129 คน (36.0%) อายุเฉลี่ย 66.7 ±3.7 ปีเป็ นเพศหญิง ร้อยละ 66.7 มี รูปแบบการสูญเสียฟันตามดัชนีของอิชเนอร์ ในรูปแบบ บี มากที่สุด คือ ร้อยละ 54.3 ค่าเฉลี่ยความลึกร่อง ปริทันต์ 2.1 ±0.7 ค่าเฉลี่ยการสูญเสียการยดึเกาะทางคลินิกของเน้ือเยอื่ ปริทนั ต์4.3±1.6 มม. จ านวนฟันใน ช่องปากเฉลี่ย 17.8 ±7.9 ซี่ ค่าเฉลี่ยฟันผุถอนอุด 13.1±8.5 ซี่ต่อคน ร้อยละ 26.4 มีจา นวนคู่สบฟันหลงั อย่างน้อย 4คู่ และร้อยละ 61.8 มีความสะอาดช่องปากระดับปานกลาง โดยสรุป สภาวะช่องปากของ ผูสู้งอายุที่มีภาวะปริชานปัญญาบกพร่องนบั เป็นปัญหาที่ตอ้งไดร้ับการดูแลท้งัการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกนัโรคใหม้ ากข้ึน ค าไขรหัส: ผู้สูงอายุ/ ปริชานปัญญาบกพร่อง / สภาวะช่องปาก Oral Health Status of Elderly with Cognitive Impairment Abstract Since entering the elderly, the body has a deterioration of physical performance in many systems including the brain system. This leads to cognitive impairment. In the past, there were some studies in many countries that have found a correlation of oral health status with cognitive impairment.The elderly with cognitive impairement had worse oral status than those without the condition. This study was a cross-sectional study that aimed to study the oral health status in the elderly with cognitive impairment. The sample group was people aged at least 60 years living in Ban Fang District. Khon Kaen Province. They passed the screening for cognitive impairment. The brain function assessment questionnaire called MMSE Thai-2002 and MoCA were translated into Thai language and applied in this study. Data were collected through questionnaires and oral health status examinations. The examination consisted of checking in periodontal probing depth, plaque accumulation, Clinical attachment loss (CAL), oral health status, and teeth loss patterns according to Eichner's index assessment. The result revealed that there were 129(36.0%). Elderly samples participating in this study with an average age was 66.7 years (±3.7), 66.7% of the sample were women. They had the greatest teeth loss proportion (54.3%) in the B pattern according to Eichner's index.The mean of periodontal probing depth was 2.1 (± 0.7), 43.4% had a mean of Clinical attachment loss (CAL) at 3-4 mm. The mean CAL level was 4.3 mm (± 1.6), mean of teeth in the oral cavity was 17.8 teeth per person (± 7.9). Mean DMFT was 13.1 teeth per person (± 8.5), 26.4% had at least 4 pairs posterior occlusion support and 6.1.8% had a mean of cleanliness was at the medium. In conclusion, the oral health status in elderly who has cognitive impairment was shown to remind us for the importance of supporting prevention and promotion program. Keywords: Elderly / Cognitive impairment / Oral health status  
     คำสำคัญ ผู้สูงอายุ/ปริชานปัญญาบกพร่อง/สภาวะช่องปาก 
ผู้เขียน
605130048-7 นาง สุจิตตรา ชาตา [ผู้เขียนหลัก]
คณะทันตแพทยศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
แนบไฟล์
Citation 19