ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
สัมพันธภาพระหว่างน่านเจ้ากับจีนสู่บทเพลงน่านเจ้าจิ้มก้อง |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
14 สิงหาคม 2563 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 4 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ |
สถานที่จัดประชุม |
วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ |
จังหวัด/รัฐ |
กาฬสินธุ์ |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
13 สิงหาคม 2563 |
ถึง |
15 สิงหาคม 2563 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
4 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
146-157 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
สัมพันธภาพระหว่างน่านเจ้ากับจีนในการถวายเครื่องบรรณาการหรือที่เรียกว่า “การจิ้มก้อง” เพื่อที่จะได้รับความคุ้มครอง อนุญาตให้ทำการค้าหรือซื้อขายสินค้ากับจีนได้ รวมทั้งสิทธิอันชอบธรรมในการปกครองอาณาจักร เป็นแนวความคิดดั้งเดิมที่จีนถือว่าตนเจริญกว่าชาติทั้งหลาย เป็นศูนย์กลางความเจริญของโลกและแวดล้อมไปด้วยชาติที่ป่าเถื่อนจึงเป็นที่เชื่อถือและปฏิบัติต่อมา ผู้เขียนมีความคิดเห็นว่า การจิ้มก้องนอกจากจะมีความสำคัญอย่างยิ่งที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ แล้ว ในระหว่างที่มีการติดต่อทางด้านการปกครองประเทศก็ยังแฝงไปด้วยศิลปะ วัฒนธรรมที่นำมาสู่การได้พบและรู้จักเพลงในสมัยน่านเจ้าและบทเพลง “เพลงน่านเจ้าจิ้มก้อง” หรือ “เพลงทูตไทยเข้าเฝ้าพระเจ้ากรุงจีน” เกิดขึ้นในสมัย “พระเจ้าพีล่อโก๊ะ” อาจจะมีบทบาทในการนำเข้าไปบรรเลงให้พระเจ้ากรุงจีนฟังในโอกาสที่อาณาจักรน่านเจ้าส่งเครื่องราชบรรณาการไปให้ เนื่องจากในสมัยนั้นน่านเจ้าได้ตกเป็นเมืองขึ้นของจีนจึงต้องส่งเครื่องบรรณาการพร้อมทั้งเพลงเข้าไปบรรเลง |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|