ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการกู้คืนดีเอ็นเอมนุษย์จากน้ำลายสำหรับงานนิติวิทยาศาสตร์ |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
28 ตุลาคม 2564 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติมหาวทิยาลยัศรีปทุม ออนไลน์ครั้งที่ 16 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
มหาวิทยาลยัศร๊ปทุม |
สถานที่จัดประชุม |
Zoom |
จังหวัด/รัฐ |
กรุงเทพ |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
28 ตุลาคม 2564 |
ถึง |
28 ตุลาคม 2564 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
16 |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
2513-2520 |
Editors/edition/publisher |
มหาวิทยาลัยศรีปทุม |
บทคัดย่อ |
น้ำลายถือเป็นแหล่งดีเอ็นเอที่สำคัญในงานนิติวิทยาศาสตร์ จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าประสิทธิภาพของการกู้คืนดีเอ็นเอจากวัตถุพยานเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการวิเคราะห์รูปแบบดีเอ็นเอจากวัตถุพยาน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการกู้คืนดีเอ็นเอมนุษย์จากน้ำลายด้วยวิธีการสกัดดีเอ็นเอ 3 วิธี ได้แก่ Phenol-chloroform-isoamyl alcohol (PCIA), Chelex-100® และชุดสกัดดีเอ็นเอสำเร็จรูป Gentra Puregene โดยนำตัวอย่างน้ำลายปริมาตร 100 μl แบบสด (Fresh saliva) และแบบคราบแห้งบนไม้พันสำลี (Saliva swabs) ของอาสาสมัครชายและหญิงอย่างละ 2 คน มาสกัดดีเอ็นเอด้วยวิธีการต่างๆ ข้างต้น จากนั้นวิเคราะห์ปริมาณดีเอ็นเอมนุษย์ที่สกัดได้ด้วยเทคนิค real-time PCR โดยใช้ชุดทดสอบ PSUTM- Quant Kit แล้วเปรียบเทียบปริมาณดีเอ็นเอที่กู้คืนได้ด้วย linear regression และ Student’s t-test ผลการศึกษาพบว่า วิธี PCIA สามารถกู้คืนดีเอ็นเอมนุษย์จากตัวอย่าง Fresh saliva และ saliva swabs ได้มากกว่าวิธีอื่นอย่างมีนัยสำคัญ โดยได้ปริมาณดีเอ็นเอเฉลี่ยเท่ากับ 12.01 ng/ μl และ 10.89 ng/ μl ตามลำดับ จากผลการศึกษานี้แสดงว่าวิธี PCIA เหมาะกับการกู้คืนดีเอ็นเอมนุษย์จากตัวอย่างน้ำลายมากที่สุด |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|