2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบราง กรณีศึกษาตนแบบที่ดีจากประเทศญี่ปุ่น 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 13 มิถุนายน 2562 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการด้านการผังเมือง ครั้งที่ 7 ประจำปี 2562 "ภูมิปัญญาเพื่อเมืองอัจฉริยะ" 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
     สถานที่จัดประชุม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
     จังหวัด/รัฐ มหาสารคาม 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 13 มิถุนายน 2562 
     ถึง 14 มิถุนายน 2562 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 2562 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 30 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบรางที่ประสบผลสำเร็จในประเทศญี่ปุ่น เป็นการศึกษาในประเด็นที่เน้นเกี่ยวกับความหมายและบทบาทการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนในประเทศญี่ปุ่น ตลอดจนตัวอย่างและแนวทางการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนในพื้นที่ต่างๆ ของญี่ปุ่น โดยวิธีการศึกษาเป็นวิธีเชิงคุณภาพที่ผู้วิจัยได้ศึกษาจากตัวอย่างการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน (TOD) ในประเทศญี่ปุ่นจากผลรายงานการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองของ Japan International Cooperation Agency (2015) และเอกสารงานวิจัย ตลอดจนบทความต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จากนั้นนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนในประเทศญี่ปุ่น ทั้งตัวอย่างพื้นที่ในเขตเมือง และชานเมือง อีกทั้งได้สรุปและนำเสนอแนวทางในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบรางในประเทศไทยที่ได้จากการศึกษาตัวอย่างที่ดีของการพัฒนาในประเทศญี่ปุ่น โดยผลที่ได้จากการนำเสนอบทความนี้จะช่วยเสริมสร้างความเข้าใจให้แก่นักวิจัยและผู้สนใจเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนมากยิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ของการศึกษาในประเด็นนี้ต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ยังสามารถนำมาเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยและวางแผนการพัฒนาพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณรอบสถานีขนส่งมวลชน ตลอดจนเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบรางในประเทศไทยเพื่อการวางแผนพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนแบบรางอย่างยั่งยืนในอนาคต 
ผู้เขียน
615200020-1 นาย สุรศักดิ์ ปั่นทองหลาง [ผู้เขียนหลัก]
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Abstract 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0