2012 ©
             Publication
Journal Publication
Research Title เครื่องบูชาแห่งความหวัง  
Date of Distribution 12 July 2019 
Conference
     Title of the Conference การประชุมวิชาการระดับชาติ ศิลปกรรมวิจัย ครั้งที่ 5 "ศิลปะสร้างโลก" Arts Create the World 
     Organiser คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     Conference Place โรงแรม อวานี ขอนแก่น โฮเทล แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น 
     Province/State จังหวัดขอนแก่น 
     Conference Date 12 July 2019 
     To 13 July 2019 
Proceeding Paper
     Volume ปีที่5 
     Issue
     Page 57-65 
     Editors/edition/publisher รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม วงศ์พงษ์คำ  
     Abstract บทคัดย่อ การการสร้างสรรค์ผลงานด้านทัศนศิลป์เรื่อง เครื่องบูชาแห่งความหวัง มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษารูปแบบและความเชื่อ เครื่องบูชาและสัญลักษณ์ต่างๆในวัดศรีเมือง นครหลวงเวียงจันทร์ สปป.ลาว จากความหวังของผู้มาไหว้บูชา และเพื่อสร้างสรรค์ผลงานสื่อประสมแนวจัดวาง ตัดฉลุ กระดาษ และอะลูมิเนียม โดยอาศัยรูปแบบเครื่องบูชาและจินตนาการมาแสดงออกในเชิงสัญลักษณ์สะท้อนสภาวะแห่งความหวัง กระบวนการสร้างสรรค์โดยการรวบรวมข้อมูลจากภาคสนาม ข้อมูลจากเอกสาร การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำภาพร่าง ดำเนินการสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะสื่อประสมที่มีลักษณะเฉพาะตน ผลการศึกษา พบว่า ความหวังในสิ่งที่จะได้โดยการไหว้บูชาด้วยเครื่องเซ่นไหว้ ดังนั้นจึงเกิดการเชื่อมโยงระหว่างอำนาจวัตถุทางรูปแบบกับสภาวะทางจิตใจในความเชื่อของมนุษย์ เพื่อไห้เกิดความหมาย ส่วนผลการสร้างสรรค์ พบว่า รูปทรงของเครื่องบูชาแห่งความหวังที่ประกอบ ตัดฉลุลวดลายสัญลักษณ์ที่ปรากฏทั้งภายในและภายนอกโดยชิ้นงานที่จะสามารถสัมผัสด้วยการมอง ประกอบต่อตั้งขึ้นเป็นระดับขั้นขึ้นจากพื้นที่ส่งเสริมคุณค่าที่มีความหมาย ซึ่งผลที่ปรากฏนี้ก่อให้เกิดความรู้สึก โดยเป็นความหมายใหม่ที่มีนัยยะสอดคล้องกับสภาวะหนึ่งแห่งความหวังถ่ายทอดสู่ผลงานสร้างสรรค์รูปแบบศิลปะสื่อประสม คำสำคัญ: เครื่องบูชา ความหวัง ตัดฉลุ สื่อประสม Abstract The work creation in visual arts; entitled, Sacrificial Offering of Hope, aiming at studying the patterns and beliefs, sacrificial offering and various symbols in Srimuang Temple, Vientiane City, Laos People’s Democratic Republic with the hope of visitors for sacrifice; and creating the mixed-media art work in the shapes of laying, cutting of paper and aluminum based on the sacrificial offering patterns and imagine to express in symbols reflecting the conditions of hope. The creative process was the mixed-media artistic work derived from the field data and documentary data. The data analysis and organizing sketch pictures were to create the mixed-media artistic work with self-characteristics. The findings of the study were that the hope caused aiming at acquiring from the sacrificial respect with offerings, so the connection between the shaped material and the mental condition in humans’ beliefs finally occurred in order to cause the meanings, but the creative results, they were the shapes of the sacrificial offerings of hope containing the patterns of cutting the appeared symbols both internal and external artistic work pieces touched by looking at the  
Author
617220019-8 Mr. KITISAK JANKAMPOM [Main Author]
Fine and Applied Arts Doctoral Degree

Peer Review Status มีผู้ประเมินอิสระ 
Level of Conference ชาติ 
Type of Proceeding Full paper 
Type of Presentation Oral 
Part of thesis true 
Presentation awarding false 
Attach file
Citation 0