ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
อัตลักษณ์กลุ่มทอผ้าไหมราชพฤกษ์ จังหวัดขอนแก่น: การเปลี่ยน และการประกอบสร้างความหมาย |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
6 สิงหาคม 2564 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
สัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 20 ประจำปี 2564 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) |
สถานที่จัดประชุม |
ณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และในรูปแบบออนไลน์ผ่านทาง Facebook Live และ Zoom |
จังหวัด/รัฐ |
ปทุมธานี |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
10 มิถุนายน 2564 |
ถึง |
11 มิถุนายน 2564 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
- |
Issue (เล่มที่) |
1 |
หน้าที่พิมพ์ |
433-446 |
Editors/edition/publisher |
บรรณาธิการสิทธิโชค ชาวไร่เงิน จัดพิมพ์โดยคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
บทคัดย่อ |
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยน และการประกอบสร้างความหมายของกลุ่มทอผ้าไหม ราชพฤกษ์ (นามสมมุติ) อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็นเมืองแห่งการผลิตผ้าไหมที่สำคัญในประเทศ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับตัวแทนกลุ่มทอผ้าไหมในจังหวัดขอนแก่น ผลการศึกษาพบว่า อัตลักษณ์กลุ่มทอผ้าไหมราชพฤกษ์ แบ่งออกเป็น 3 ยุคคือ ยุคการทอผ้าเพื่อยังชีพ (พ.ศ. 2360-2510) เป็นยุคที่การทอผ้าถูกสร้างความหมายโดยวัฒนธรรมท้องถิ่นจากบทบาทความเป็นสตรี ต่อมายุคการทอผ้าในรูปแบบกลุ่ม (พ.ศ. 2511-2543) กลุ่มคนทอผ้าถูกให้ความหมายโดยรัฐในการเป็นการร่วมกลุ่มของสตรีเพื่อประกอบอาชีพเสริม และยุคความหมายกลุ่มทอผ้าช่วงยุคโอทอป (พ.ศ. 2544-ปัจจุบัน) เป็นยุคที่ได้รับอิทธิพลจากกระแสโลกาภิวัตน์ที่ไหลบ่าเข้ามา ความหมายของการเป็นกลุ่ม ทอผ้าจึงมีการผสมผสานทั้งอิทธิพลจากรัฐ การเป็นผู้ประกอบการ และการเลือกนำเสนออัตลักษณ์ของกลุ่มเพื่อผลประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและการดำรงอยู่ของวัฒนธรรมการทอผ้าในอีสาน |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Full paper |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|