2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะของผู้บริหารในวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น Factor Analysis of Administrator’s Competencies in New Normal Under The Khon Kaen Primary Educational Service Area  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 27 พฤษภาคม 2565 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมทางวิชาการบริหารการศึกษาและการอุดมศึกษาระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2565 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 26 พฤษภาคม 2565 
     ถึง 27 พฤษภาคม 2565 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 419-429 
     Editors/edition/publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะของผู้บริหารในวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น 2) ศึกษาระดับสมรรถนะของผู้บริหารในวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น 3) พัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลองค์ประกอบสมรรถนะของผู้บริหารในวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 240 คน ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยใช้วิธีการสุ่มแบบสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยแบบสอบถามทั้งฉบับมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.863 วิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานเชิงพรรณนา วิเคราะห์ความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้นด้วยโปรแกรม Mplus และโปรแกรม SPSS ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบสมรรถนะของผู้บริหารในวิถีปกติใหม่ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ การทำงานร่วมกับผู้อื่น การบริหารตนเอง การบริหารจัดการ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง และการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ 2) ระดับสมรรถนะของผู้บริหารในวิถีปกติใหม่ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านผู้นำการเปลี่ยนแปลง รองลงมา คือ ด้านการทำงานร่วมกับผู้อื่น ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการบริหารจัดการ 3) โมเดลองค์ประกอบที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่า ( = 33.474, df = 24, p-value = 0.0945, /df = 1.39475, CFI = 0.994 , TLI = 0.985, RMSEA = 0.029, SRMR = 0.027)  
ผู้เขียน
635050057-4 น.ส. ศุภศิริ ยศราวาส [ผู้เขียนหลัก]
คณะศึกษาศาสตร์ ปริญญาโท โครงการพิเศษ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Abstract 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0