2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ หลวงพ่อพระใส ศรัทธาความเชื่อของคนในจังหวัดหนองคาย  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 3 กันยายน 2565 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2565 (FAR8) 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     สถานที่จัดประชุม อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     จังหวัด/รัฐ ขอนแก่น 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 3 กันยายน 2565 
     ถึง 4 กันยายน 2565 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 1013-1022 
     Editors/edition/publisher  
     บทคัดย่อ บทคัดย่อ งานวิจัยเรื่อง หลวงพ่อพระใส ศรัทธาความเชื่อของคนในจังหวัดหนองคาย วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาศรัทธาความเชื่อที่ทำให้เกิดปาฏิหาริย์ ที่มีต่อองค์หลวงพ่อพระใส อ.เมือง จ. หนองคาย การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาข้อมูลทั้งจาเอกสาร และการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและภาคสนาม จากกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้รู้ ผู้ปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้องกับศรัทธาความเชื่อที่มีต่อหลวงพ่อพระใส โดยนำมาวิเคราะห์ตามแนวคิดองค์ประกอบและทฤษฎีคติชนวิทยา และนำไปเป็นข้อมูลอันก่อให้เกิดการพัฒนางานวิชาการด้านศิลปะวัฒนธรรมของชาติที่งดงามและมีคุณค่า ผลการวิจัยพบว่า จากความสำคัญของศรัทธาความเชื่อของคนในจังหวัดหนองคาย ที่ทำให้เกิดปาฏิหาริย์แบ่งออกเป็น3เหตุการณ์ คือ ปาฏิหาริย์ที่วัดหอก่อง ปาฏิหาริย์เกวียนหักที่วัดโพธิ์ชัย และปาฏิหาริย์ขอฝนบุญเดือน 7 ที่มีต่อองค์หลวงพ่อพระใส อ.เมือง จ.หนองคาย โดยผู้คนบริเวณจังหวัดหนองคาย ที่มีวิถีการดำเนินชีวิตอยู่กับศรัทธาความเชื่อเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาของพระพุทธรูป ที่เป็นแหล่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจในปาฏิหาริย์เกวียนหักที่วัดโพธิ์ชัย และปาฏิหาริย์ขอฝนบุญเดือน 7 ชาวหนองคายจึงได้ขนานพระนามของหลวงพ่อ พระใสว่า"หลวงพ่อเกวียนหัก” หรือหลวงพ่อปาฏิหาริย์มาตลอด เพราะปาฏิหาริย์ที่ ปรากฏต่อหน้าของคนทั้งหลายในคราวนั้นถือว่าเป็นปาฏิหาริย์ที่นำมาซึ่งความสุขของชาวเมืองหนองคายที่ได้องค์หลวงพ่อพระใสอยู่เป็นมิ่งขวัญกับเมืองและชาวเมืองหนองคายมากระทั่งปัจจุบันนี้ คำสำคัญ: หลวงพ่อพระใส ,ศรัทธาความเชื่อ ,หนองคาย  
ผู้เขียน
635220001-5 นาย ธนวัฒน์ มีศรี [ผู้เขียนหลัก]
คณะศิลปกรรมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0