2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ แนวทางพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมแบบบูรณาการให้แก่ผู้สูงอายุอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาศูนย์โฮมสุข เทศบาลต าบลนาจารย์ จังหวัดกาฬสินธุ์ 
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 30 ธันวาคม 2565 
วารสาร
     ชื่อวารสาร วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์ 
     มาตรฐานของวารสาร TCI 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร สำนักงำนปัญญาพัฒน์ 
     ISBN/ISSN 2773-9805 (Online) 
     ปีที่ ปี ที่ 4 
     ฉบับที่ ฉบับที่ 4 
     เดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2565
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2566 
     หน้า 313-326 
     บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การบูรณาการการจัดสวัสดิการสังคมส าหรับผู้สูงอายุของศูนย์โฮม สุขและภาคีเครือข่าย (2) ปัจจัยแห่งความส าเร็จของการบูรณาการการจัดสวัสดิการสังคมส าหรับผู้สูงอายุของศูนย์โฮมสุข และภาคีเครือข่าย และ (3) แนวทางการพัฒนาการบูรณาการการจัดสวัสดิการสังคมส าหรับผู้สูงอายุของศูนย์โฮมสุขและ ภาคีเครือข่ายอย่างยั่งยืน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลสา คัญ ประกอบด้วย เจ้าหน้าท่ีศูนย์โฮมสุข ภาคีเครือข่าย และผู้สูงอายุหรือแกนน าผู้สูงอายุ ของศูนย์โฮมสุข เทศบาลต าบลนาจารย์ จังหวัดกาฬสินธุ์ จ านวน 49 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีการวิเคราะห์เอกสารเนื้อหา และน าเสนอข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนา ผลการศึกษา พบว่า การบูรณาการการจัดสวัสดิการสังคมส าหรับผู้สูงอายุของศูนย์โฮมสุขและภาคีเครือข่าย รวมถึงอย่างยั่งยืน มี 5 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านเศรษฐกิจ 2) ด้านความมั่นคงของอาหาร 3) ด้านสุขภาพ 4) ด้านการเรียนรู้ ตลอดชีวิต 5) การมีน ้าอุปโภค - บริโภคเพียงพอ และการจัดการสุขาภิบาลอย่างเหมาะสม ปัจจัยแห่งความส าเร็จของการบูรณาการการจัดสวัสดิการสังคมส าหรับผู้สูงอายุของศูนย์โฮมสุขและภาคี เครือข่าย พบว่า มี 5 ด้าน คือ 1) มีแผนการท างานชัดเจน 2) มีการสนับสนุนงบประมาณจากภาคส่วนต่างๆ 3) มี สถานท่รีองรับการจัดกิจกรรมและวัสดุอุปกรณ์เพียงพอ 4) มีแนวคิดการเป็นเจ้าของร่วมศูนย์โฮมสุข และเป้ าหมายใน การดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสในชุมชนให้สามารถพึ่งตนเองได้ และ 5) การประชาสัมพันธ์การได้รับรางวัลของ ศูนย์โฮมสุข แนวทางการพัฒนาการบูรณาการการจัดสวัสดิการสังคมส าหรับผู้สูงอายุของศูนย์โฮมสุขและภาคีเครือข่ายอย่าง ยั่งยืน พบว่า การท างานระหว่างศูนย์โฮมสุขกับชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน มีปัจจัย ส าคัญ ประกอบด้วย ด้านบุคลากร ด้านแผนงาน/โครงการ ด้านงบประมาณ และด้านการประชาสัมพันธ์  
     คำสำคัญ สวัสดิการสังคม, บูรณาการ, ผู้สูงอายุ, ศูนย์โฮมสุข 
ผู้เขียน
595080050-6 น.ส. พรสุดา ฤทธิธาดา [ผู้เขียนหลัก]
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ตีพิมพ์แล้ว 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
แนบไฟล์
Citation 1