ชื่อบทความที่เผยแพร่ |
คุณลักษณะความเปนพลเมืองตื่นรู้ของกลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมในภาคเหนือ |
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ |
16 มิถุนายน 2566 |
การประชุม |
ชื่อการประชุม |
งานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที 22 ประจำ ปี พ.ศ. 2566 |
หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม |
ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
สถานที่จัดประชุม |
คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
จังหวัด/รัฐ |
พิษณุโลก |
ช่วงวันที่จัดประชุม |
15 มิถุนายน 2566 |
ถึง |
16 มิถุนายน 2566 |
Proceeding Paper |
Volume (ปีที่) |
22 |
Issue (เล่มที่) |
22 |
หน้าที่พิมพ์ |
30 |
Editors/edition/publisher |
|
บทคัดย่อ |
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานะความเป็นพลเมืองขององค์กรภาคประชาสังคม
ในภาคเหนือ การวิจัยนีใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ้ แบบปรากฏการณ์นิยม ผู้ให้ข้อมูลหลัก
ได้แก่ ผู้รู้ในชุมชน สมาชิกขององค์กรภาคประชาสังคม และกลุ่มคนทีมีความรู้ความเข้าใจเฉพาะ ่
เรื่องความเป็นพลเมือง เครื่องมือที่สำคัญในการใช้เก็บรวบรวมข้อมูลคือ นักวิจัย และแบบ
สัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบ
ไม่มีส่วนร่วม และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนือหา ้
ผลการศึกษาพบว่าคุณลักษณะความเป็นพลเมืองตื่นรู้ของสมาชิกในกลุ่มองค์กรภาค
ประชาสังคม ประกอบด้วย 4 มิติทีสำคัญ ได้แก่ การเปนสมาชิก ็ การมีชุดสิทธิพลเมือง หน้าที่
เชิงศีลธรรม และจริยธรรมการมีส่วนร่วมทางการเมือง ดังนั้นองค์กรภาคประชาสังคมจึงเป็น
กลไกสำคัญในการช่วยหล่อหลอมความเปนพลเมือง ็ ซึ่งเปนปั จจัยสำคัญที่ช่วยนำทางให้สมาชิก
ในกลุ่มหรือชุมชนนั้นๆ อยู่ร่วมกันได้บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมในชีวิตสาธารณะ และความ
ตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคคลที่มีต่อตนเอง ผู้อื่น และชุมชน ตลอดจน ช่วย
ขับเคลือนส ่ ังคมหรือชุมชนนั้นๆ ให้สามารถพัฒนาและเสริมสร้างประชาธิปไตยท้องถินได้ ่
คำสำคัญ: ความเปนพลเมือง ็ พลเมืองตืนรู้ ่ องค์กรภาคประชาสังคม |
ผู้เขียน |
|
การประเมินบทความ (Peer Review) |
มีผู้ประเมินอิสระ |
มีการเผยแพร่ในระดับ |
ชาติ |
รูปแบบ Proceeding |
Abstract |
รูปแบบการนำเสนอ |
Oral |
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ |
เป็น |
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล |
ไม่ได้รับรางวัล |
แนบไฟล์ |
|
Citation |
0
|
|