2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ การศึกษาและเปรียบเทียบชีวกลศาสตร์อุปกรณ์ยึดตรึงกระดูกสามชนิดในการยึดคอกระดูกต้นขาหักรูปแบบ Pauwels classification  
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 19 กรกฎาคม 2565 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 36 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทรและสมาคมวิศวกรเครื่องกลไทย  
     สถานที่จัดประชุม ณ โรงแรมฮอลิเดย์อินน์ วานานาวา หัวหิน  
     จังหวัด/รัฐ จังหวัดประจวบคีรีขันธ 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 19 กรกฎาคม 2565 
     ถึง 22 กรกฎาคม 2565 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่) 36 
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 523-529 
     Editors/edition/publisher สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์/1/คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 
     บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชีวกลศาสตร์ที่เกิดขึ้นในการยึดตรึงคอกระดูกสะโพกหักรูปแบบ Pauwels classification โดยศึกษาผ่านการทำแบบจำลองระเบียบวิธี ไฟไนต์เอเลเมนต์ (finite element method ,FEM) วิธีการวิจัย : แบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์ (Finite element models ) ถูกสร้างขึ้นโดยอ้างอิงจากข้อมูลย้อนหลัง ภาพถ่ายเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สร้างการแตกหักของคอกระดูกต้นขาในรูปแบบ Pauwels ทั้ง3ประเภท ได้แก่ 30๐ , 50๐ และ 70๐ ยึดกับอุปกรณ์3กลุ่ม ได้แก่ 3CS , SHS+CS และ FNS ทดสอบภายใต้เงื่อนไขแรงกระทำ 600 นิวตัน ในแนวตั้งฉากกับหัวกระดูก ต้นขา เพื่อให้ทราบถึงการเสียรูป (displacement) ความเค้นที่เปลี่ยนแปลงไป (stress distributions) และความแข็งแกร่ง (Stiffness) ของโครงสร้าง ผลการศึกษา : ค่าความแข็งแกร่ง (Stiffness) ที่เกิดขึ้นกับแบบจำลองการยึดตรึงคอกระดูกต้นขาหัก มุมการหัก 30๐ เท่ากับ 116.11MPa , 115.53MPa , 114.66MPa มุมการหัก 50๐ 114.42 MPa , 113.01 MPa และ 113.73 MPและ มุมการหัก 70๐ เท่ากับ 111.51 MPa , 108.05MPa และ 112.94 MPa ตามลำดับ สรุปผล : 3CS มีประสิทธิภาพในหารยึดติดกับโครงสร้างกระดูกต้นขามากที่สุด SHS+CS มีประสิทธิภาพในการลดระยะ การบิดงอของโครงสร้างและมีการกระจายความเค้นที่ดี FNS มีประสิทธิภาพในการรับแรงกระทำต่อโครงสร้างได้ดี คำหลัก: ภาวะคอกระดูกต้นขาหัก, คอกระดูกต้นขาหักประเภทพอเวลส์, ชีวกลศาสตร์, อุปกรณ์ยึดตรึงกระดูก 
ผู้เขียน
635040043-1 นาย พศวีร์ พลหาญ [ผู้เขียนหลัก]
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ
627040045-0 นาย วันจักร พงษ์สมัครไทย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Oral 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ได้รับรางวัล 
     ชื่อรางวัล Runners-up Best Paper 
     ประเภทรางวัล รางวัลด้านวิชาการ วิชาชีพ 
     หน่วยงาน/องค์กรที่มอบรางวัล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทรและสมาคมวิศวกรเครื่องกลไทย  
     วัน/เดือน/ปี ทีด้รับรางวัล 20 กรกฎาคม 2565 
แนบไฟล์
Citation 0