2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความที่เผยแพร่ อิทธิพลของการปลูกพืชตระกูลถั่วที่มีต่อธาตุอาหารหลักในระบบการปลูกข้าวนาหว่านแห้งInfluence of leguminous plant cultivation on macronutrients under dry direct-seeded rice system 
วัน/เดือน/ปี ที่เผยแพร่ 9 ธันวาคม 2565 
การประชุม
     ชื่อการประชุม การประชุมวิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติครั้งที่ 7 (The 7 th National Soil and Fertilizer Conference) 
     หน่วยงาน/องค์กรที่จัดประชุม มหาวิทยาลัยเชียงใหม 
     สถานที่จัดประชุม ณ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์วิจัย สาธิต และฝึกอบรมการเกษตร แม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 
     จังหวัด/รัฐ เชียงใหม่ 
     ช่วงวันที่จัดประชุม 29 สิงหาคม 2566 
     ถึง 29 สิงหาคม 2566 
Proceeding Paper
     Volume (ปีที่)
     Issue (เล่มที่)
     หน้าที่พิมพ์ 278-286 
     Editors/edition/publisher คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 
     บทคัดย่อ Abstract: This research was to study the use of leguminous plants such as sunn hemp and mung bean, together with the use of pellet filter cake as a representative of organic fertilizers, compared with the use of chemical fertilizers on macronutrients under dry direct-seeded rice soils. The randomized complete block design with 3 replications was used in this study. Four treatments include farmers’ practice of chemical fertilizer (T1), application of filter cake (100 kg/rai) (T2), application of filter cake (50 kg/rai) combined with sunn hemp 5 kg/rai (planting with rice) (T3), and application of filter cake (50 kg/rai) combined with mung bean 5 kg/rai (planting with rice) (T4). Soil samples were collected before planting, at tillering stage (60 days after planting), and at the harvesting stage. The results showed the highest total nitrogen content of 0.07 percent at the tillering stage in the T3, but there was no statistically significant difference (p<0.05) with the T4. The highest available phosphorus content was 5.88 mg/kg in the T4, but there was no statistically significant difference (p<0.05) with the T3. However, extractable potassium content was not statistically different in all treatments. Therefore, the use of sunn hemp and mung bean as green manure together with the use of pellet filter cake has the potential to increase macronutrients in the soil as compared to the farmers’ practice of chemical fertilizer. Keywords: Green manure, sunn hemp, mung bean, filter cake, paddy soils บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการใช้พืชตระกูลถั่ว ได้แก่ ปอเทือง และถั่วเขียวร่วมกับการใช้กากตะกอนหม้อกรองอัดเม็ด (filter cake) ซึ่งเป็นตัวแทนปุ๋ยอินทรีย์เปรียบเทียบกับการใช้ปุ๋ยเคมีต่อธาตุอาหารหลักในดินนาที่ปลูกข้าวนาหว่าน วาง แผนการทดลองแบบสุ่มบล็อกสมบูรณ์ จำนวน 4 ตำรับ 3 ซ้ำ ได้แก่ การใส่ปุ๋ยเคมีตามวิธีปฏิบัติของเกษตรกร (T1) การใช้กาก ตะกอนหม้อกรองอัดเม็ด (อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่) (T2) การใช้กากตะกอนหม้อกรองอัดเม็ด (อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่) ร่วมกับปอเทืองอัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ (หว่านพร้อมข้าว) (T3) และการใช้กากตะกอนหม้อกรองอัดเม็ด (อัตรา 50 กิโลกรัมต่อ ไร่) ร่วมกับถั่วเขียว อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ (หว่านพร้อมข้าว) (T4) เก็บตัวอย่างดินก่อนการทดลอง ระยะแตกกอ (60 วันหลัง ปลูก) และระยะเก็บเกี่ยว พบว่าปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดสูงที่สุดเท่ากับ 0.07 เปอร์เซ็นต์ที่ระยะแตกกอในตำรับ T3 แต่ไม่มี ความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสําคัญ (p<0.05) กับตำรับ T4 อีกทั้งพบปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์สูงที่สุดเท่ากับ 5.88 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมในตำรับ T4 แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสําคัญ (p<0.05) กับตำรับ T3 อย่างไรก็ตาม ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติในทุกตำรับ ดังนั้น การใช้ปอเทือง และถั่ว เขียวเป็นปุ๋ยพืชสดร่วมกับการใช้กากตะกอนหม้อกรองอัดเม็ดมีศักยภาพในการเพิ่มธาตุอาหารหลักในดินได้เทียบเท่าการใส่ ปุ๋ยเคมีตามวิธีปฏิบัติของเกษตรกร คำสำคัญ: ปุ๋ยพืชสด ปอเทือง ถั่วเขียว กากตะกอนหม้อกรอง ดินนา 
ผู้เขียน
625030046-0 น.ส. ศุวารี ขันแก้ว [ผู้เขียนหลัก]
คณะเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท ภาคปกติ

การประเมินบทความ (Peer Review) มีผู้ประเมินอิสระ 
มีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
รูปแบบ Proceeding Full paper 
รูปแบบการนำเสนอ Poster 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
ผลงานที่นำเสนอได้รับรางวัล ไม่ได้รับรางวัล 
แนบไฟล์
Citation 0