2012 ©
             ข้อมูลการเผยแพร่ผลงาน
การเผยแพร่ในรูปของบทความวารสารทางวิชาการ
ชื่อบทความ ลวดลายชมเผ่าลาว สู่การออกแบบชุดแต่งกายร่วมสมัย 
วัน/เดือน/ปี ที่ได้ตอบรับ 12 กรกฎาคม 2562 
วารสาร
     ชื่อวารสาร FAR5 เการประชุมวิชาการระดับชาติศิลปกรรมวิจัยครั้งที่ 5 
     มาตรฐานของวารสาร OTHER () 
     หน่วยงานเจ้าของวารสาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
     ISBN/ISSN  
     ปีที่  
     ฉบับที่  
     เดือน กรกฏาคม
     ปี พ.ศ. ที่พิมพ์ 2562 
     หน้า  
     บทคัดย่อ การศึกษา ลวดลายผ้าชนเผ่าลาว สู่การออกแบบชุดแต่งกายร่วมสมัย มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาลวดลายผ้า ของชนเผ่าลาวเพื่อออกแบบชุดแต่งกายร่วมสมัย ชนเผ่าลาว เป็นชนเผ่าจัดอยู่หมวดตระกูลภาษา ลาว-ไต มีทั้งหมด 8 ชนเผ่าคือ ลาว แชก ผู้ไท ยวน ไต ยั้ง ลื้อ และไทเหนือ เป็นชนเผ่าที่มีประชากรจ านวนมากที่สุดใน สปป ลาว มีวิถีชิ ที่เป็นอัตลักษณ์ของตนเองรวมไปถึงการแต่งกาย โดยผู้หญิงจะ เกล้าผม เบี่ยงแพร ใส่ผ้าชิ่น ส่วนผู้ชาย ใส่เสื้อคอกุย เฮ้ง ใส่ผ้าหาง บ่งบอกความเป็นตัวตน ด้านวัฒนธรรมได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะลวดลายที่ปรากฏบนผ้าแสดงให้เห็นถึง วิธีคิด ภูมิปัญญาของคนในชนเผ่าที่เป็นอัตลักษณ์ของตน วิธีการศึกษาด้วยการสังเกตุ สัมภาษณ์และจากเอกสาร วิเคราะห์จากลวดลายผ้าในปัจจุบัน ประกอบไปด้วย ผ้าชิ่น ผ้าเบี่ยง และผ้าอื่นๆ ที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน จากการศึกษา ท าให้รู้ว่า ลวดลายของผ้าที่ใช้ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ ลวดลายที่มีแนวคิดที่เกีดจากธรรมชาติมีสิ่งที่มีชีวิต เช่น สัตว์ และสิ่งที่ไม่มีชีวิต ลวยลายที่ได้จากจากจินตะนาการ และลวดลายที่ได้แนวคิดจากสภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่ แนวคิดการออกแบบชุดแต่งกายได้น าเอาลายนาคโฮงเทียน ที่เป็นส่วนหนึ่งของลวดลายในผ้า น ามาออกแบบเป็น 3 ชุด คือ Rain Pink เสื้อกันฝนสีชมพู Win Red การพรี้วไหวของสายลม และ Summer Blue ชุดฤดูร้อนสีฟ้า เป็นชุด ล าลอง ส าหรับผู้หญิง ท าลวดลายบนผ้าด้วยการปักลูกปัดที่เป็นกระแสนิยมในปัจจุบัน  
     คำสำคัญ ลวดลายผ้าชนเผ่าลาว, ชุดแต่งกายร่วมสมัย 
ผู้เขียน
617220048-4 Ms. MALEENY PHINITH [ผู้เขียนหลัก]
คณะศิลปกรรมศาสตร์ ปริญญาเอก ภาคปกติ

การประเมินบทความ มีผู้ประเมินอิสระ 
สถานภาพการเผยแพร่ ตีพิมพ์แล้ว 
วารสารมีการเผยแพร่ในระดับ ชาติ 
citation มี 
เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เป็น 
แนบไฟล์
Citation 0